[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ราน้ำค้าง
531 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 53 หน้า, หน้าที่ 54 มี 1 รายการ

🔥 ไอเอส ยาอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา โรคใบไหม้ โรคใบแห้ง โรคราสนิม โรคราน้ำค้าง โรคใบจุด
🔥 ไอเอส ยาอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา โรคใบไหม้ โรคใบแห้ง โรคราสนิม โรคราน้ำค้าง โรคใบจุด
📌 #โปรโมชั่นพิเศษ ที่ลิงค์นี้นะค่ะ http://www.farmkaset..link.. ✅ ปลอดสารพิษ
✅ จากธรรมชาติ
✅ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
🚚 มีบริการเก็บเงินปลายทางฟรี ไม่ต้องโอน
📞 โทรสั่ง 090-592-8614
👉 แอดไลน์ไอดี FarmKaset
อ่าน:3479
ขั้นตอนการปลูกข้าวโพดหวาน วิธีปลูกข้าวโพด การให้น้ำข้าวโพดหวาน
ขั้นตอนการปลูกข้าวโพดหวาน วิธีปลูกข้าวโพด การให้น้ำข้าวโพดหวาน
ขั้นตอนการปลูกข้าวโพดหวาน วิธีปลูกข้าวโพด การให้น้ำข้าวโพดหวาน
วิธีการปลูกและการให้น้ำข้าวโพดหวาน

แม้ว่าการปลูกข้าวโพดหวานสามารถทำได้ตลอดปีถ้ามีแหล่งน้ำเพียงพอ อย่างไรก็ตามผลผลิตและคุณภาพข้าวโพดหวานอาจจะแตกต่างไปตามฤดูกาล นอกจากนี้พันธุ์บางพันธุ์อาจตอบสนองต่อฤดูปลูกแตกต่างกัน โดยทั่วไปในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ จะให้ผลผลิตต่ำกว่าในช่วงอื่น ๆ เนื่องจากอากาศเย็น ขณะที่การปลูกในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม จะได้ผลผลิตดีกว่าช่วงอื่น ๆ ไม่มีโรคราน้ำค้างระบาดและปัญหาวัชพืชซึ่งจะน้อยกว่าการปลูกในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม เพราะผลผลิตบางส่วนอาจเสียหายได้เนื่องจากช่วงดังกล่าวฝนตกชุก อาจทำให้เกิดน้ำท่วมหรือน้ำขังในแปลงปลูกได้ง่าย โดยเฉพาะในแปลงที่มีระบบการระบายน้ำไม่ดี
การเตรียมดิน

ในการปลูกข้าวโพดหวานควรมีการเตรียมดินอย่างดี เพื่อช่วยกำจัดวัชพืชย่อยเศษซากพืชและคลุกเคล้าอินทรียวัตถุ อีกทั้งยังเป็นการทำลายโรคและแมลงบางชนิดที่เป็นศัตรูข้าวโพด โดยทั่วไปการเตรียมดินควรปฏิบัติ ดังนี้

1. ไถด้วยผาลสาม 1 ครั้ง ลึก 20-30 เซนติเมตร และตากดิน 7-10 วัน แล้วพรวนด้วยผาลเจ็ด 1 ครั้ง แล้วคราดเก็บเศษซาก ราก เหง้า หัว ไหล ของวัชพืชออกจากแปลงให้หมด

2. เก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์ ถ้าพบว่าดินมีความเป็นกรดต่ำกว่า 5.5 ให้หว่านปูนขาว อัตรา 100-200 กิโลกรัมต่อไร่แล้วพรวนกลบ จากนั้นปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 14 วัน ก่อนปลูกข้าวโพดหวาน

3. ถ้าดินมีอินทรียวัตถุต่ำกว่า 1.5 ให้ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกที่ย่อยสลายดีแล้ว อัตรา 500-1_000 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วพรวนดินกลบ

วิธีการปลูก

เมล็ดพันธุ์ที่นำมาปลูกควรมีความงอกสูงกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ หยอด 1 เมล็ดต่อหลุม โดยใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 1.0-1.2 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ถ้าเมล็ดพันธุ์มีความงอกต่ำกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ควรหยอดเมล็ด 1-2 เมล็ดต่อหลุม และหยอดลึกประมาณ 3-5 เซนติเมตร ซึ่งใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 1.5-2.0 กิโลกรัมต่อไร่ เนื่องจากพันธุ์ข้าวโพดหวานที่มีอยู่ในปัจจุบันยังไม่ต้านทานต่อโรคราน้ำค้าง ดังนั้นก่อนปลูกทุกครั้งต้องคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารเมตาแลกซิล อัตรา 7 กรัมต่อเมล็ด 1 กิโลกรัม เพื่อป้องกันโรคราน้ำค้าง สำหรับอัตราปลูกที่เหมาะสมของข้าวโพดหวานเพื่ออุตสาหกรรมการแปรรูปควรอยู่ในช่วง 8_500-11_00 ต้นต่อไร่ ซึ่งการจัดระยะปลูกสามารถทำได้โดย

1. ใช้ระยะระหว่างแถว 75 เซนติเมตร และระยะระหว่างต้น 20-25 เซนติเมตร เมื่อข้าวโพดมีอายุประมาณ 10-14 วัน ถอนแยกให้เหลือ 1 ต้นต่อหลุม จะได้จำนวนต้นประมาณ 8_533-10_667 ต้นต่อไร่

2. ใช้ระยะระหว่างแถวและระยะระหว่างต้นเท่ากัน คือ ประมาณ 40 เซนติเมตร เมื่อข้าวโพดมีอายุประมาณ 10-14 วัน ถอนแยกให้เหลือ 1 ต้นต่อหลุม จะได้จำนวนต้นประมาณ 10_000 ต้นต่อไร่

การให้น้ำ

การขาดน้ำทุกระยะการเจริญเติบโตจะมีผลให้ผลผลิตและคุณภาพของข้าวโพดลดลง ก่อนการปลูกเกษตรกรต้องมีการวางแผนวิธีการให้น้ำที่เหมาะสมกับสภาพแปลงปลูก โดยทั่วไปการให้น้ำมีหลักปฏิบัติ ดังนี้

1. ให้น้ำทันทีหลังปลูกและหลังการใส่ปุ๋ยทุกครั้ง หลังจากนั้นให้น้ำทุก 7-12 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ วิธีการให้น้ำที่เกษตรกรปฏิบัติมีอยู่ 2 แบบ คือ ให้น้ำตามร่องคูและให้น้ำแบบพ่นฝอย (Sprinkler) ซึ่งการให้น้ำแบบพ่นฝอยควรให้น้ำแต่ละครั้งประมาณ 35-40 มิลลิลิตร ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศและชนิดของดิน เช่น ถ้าดินที่ใช้ปลูกเป็นดินทรายหรือดินร่วน ควรให้น้ำถี่กว่าดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียว เพราะดินดังกล่าวมีความสามารถในการเก็บความชื้นไว้ นอกจากนี้ในช่วงการเจริญเติบโต หากสภาพอากาศมีอุณหภูมิสูงหรือมีลมแรงก็ควรมีการให้น้ำถี่ขึ้น

2. หากพบว่าใบข้าวโพดหวานเหี่ยวหรือม้วนในช่วงเช้าหรือเย็น แสดงว่าขาดน้ำต้องรีบให้น้ำทันที

3. หลังการให้น้ำต้องระวังไม่ให้น้ำท่วมขังในแปลงนานเกิน 24 ชั่วโมง เพราะข้าวโพดหวานจะชะงักการเจริญเติบโต ผลผลิตลดลงหรืออาจตายได้

4. อย่าให้ข้าวโพดขาดน้ำในช่วงการเจริญเติบโต โดยเฉพาะในช่วงผสมเกสรและติดเมล็ด เพราะจะทำให้ผลผลิตและคุณภาพผลผลิตลดลงอย่างมาก ถึงแม้การขาดน้ำจะเป็นช่วงสั้น ๆ และไม่รุนแรง

5. หยุดให้น้ำก่อนเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานประมาณ 2-3 วัน

แหล่งข้อมูลอ้างอิง kubotasolutions.com/ knowledge/corn/detail/313
อ่าน:3804
รับมือ 5 โรคพืชที่พบบ่อย โรคราน้ำค้าง โรคราสนิมขาว โรคเน่าคอดิน โรคใบจุด และ โรคเหี่ยว
รับมือ 5 โรคพืชที่พบบ่อย โรคราน้ำค้าง โรคราสนิมขาว โรคเน่าคอดิน โรคใบจุด และ โรคเหี่ยว
เตือนเกษตรกรสำรวจโรคพืชในทุกระยะ หากฝนตกติดต่อกันเกินกว่า 2 – 3 วัน ควรมีการวางแผนที่ดีเพื่อป้องกันโรคที่ตามมาในหน้าฝน ซึ่งเชื้อราเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคพืชมาก..
อ่านต่อที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3489
รู้จัก โรคพืช จากเชื้อรา ใน 1 นาที 53 วินาที

http://www.farmkaset..link..
มาวันนี้ กล่าวถึง โรคเชื้อรา
มีที่มา ที่ไป อย่างไรเล่า
ราคือพืช เล็กเล็ก บนโลกเรา
จัดในพวก เห็ดรา กลุ่มฟันไจ (Kingdom funji)

ต่างจากพืช ราไม่มี คลอโรฟิลล์
สังเคราห์แสง สร้างอาหาร เองไม่ได้
สร้างสปอร์ สืบพันธุ์ ฟุ้งกระจาย
ปลิวไปไกล ตกที่ใด ก็เติบโต

การดำรง ชีวิต ของเชื้อรา
แบ่งออกมา ได้สามกลุ่ม เขาว่าไว้
ราไม่ดี ก่อโรค เข้าทำลาย
ราอีกพวก ย่อยสลาย ซากอินทรีย์

ราสุดท้าย แบบพึ่ง พาอาศัย
อยู่พืชใด สร้างประโยชน์ ให้พืชนั้น
เช่นไมคอร์ ไรซา เขาว่ากัน
ช่วยพืชพันธุ์ ทนแล้ง และโตไว
ราประเภท ก่อโรคร้าย ทำลายพืช
ดูไม่จืด ผลผลิต พืชเสียหาย
โรคใบไหม้ แคงเกอร์ ใบจุดลาย
ช่างวุ่นวาย แอนแทรคโนส โหดร้ายจัง

ทั้งรากเน่า โคนเน่า ราน้ำค้าง
โรคใบติด ใบด่าง ราสนิม
โรคราดำ ใบร่วง เน่าคอดิน
กำจัดสิ้น ใช้ไอเอส ปลอดโรคภัย

เมื่อกล่าวถึง ไอเอส ยาแก้รา
ยับยั้งรา มิให้ ลุกลามได้
ใช้ได้หมด ไม่ว่า พืชอะไร
เมื่อเป็นโรค ใดใด จากเชื้อรา

กลอนบทนี้ เป็นลิขสิทธิ์ของ ฟาร์มเกษตร (FarmKaset.ORG) เผยแพร่ต่อได้ โดยต้องอ้างถึงเว็บไซต์ FarmKaset.ORG
อ่าน:3596
🔥โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส ใช้ได้กับทุกพืช เร่งพืชฟื้นตัว กลับมาโตไวให้ผลผลิตดี ด้วย FK-1
🔥โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส ใช้ได้กับทุกพืช เร่งพืชฟื้นตัว กลับมาโตไวให้ผลผลิตดี ด้วย FK-1
จัดส่งฟรีถึงบ้านทั่วไทย ชำระเงินปลายทางเฉพาะค่าสินค้า ราคา ไอเอส 450บาท FK-1 890บาท ทั้งชุด 1340บาท

สั่งซื้อได้ที่ http://www.farmkaset..link..
หรือทักแชท
หรือไลน์ไอดี FarmKaset
หรือโทร 090-592-8614

อัตราผสม ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร

อัตราผสม FK-1 แกะกล่องมามีสองถุง ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ฉีดพ่นทั่วแปลงที่มีการระบาด เว้น 3 วันพ่นซ้ำ ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความรุนแรงของการระบาด
อ่าน:3421
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
โรคราน้ำค้างเมล่อน (Downy Mildew) เกิดจากเชื้อ Pseudoperonospora cubensis (Berkeley & Curtis) Roslowzew
อาการของโรค ราน้ำค้างในเมล่อน จะเกิดจุดสีน้ำตาล หรืออาจจะเป็นสีเหลือง เป็นจุดเล็กๆ และค่อยขยายใหญ่ขึ้น ขอบใบจะค่อยๆม้วนและร่วง

โรคเหี่ยว ในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Fusarium oxysporum f.sq. melonis ใบเมล่อนเหี่ยว เป็นสีเหลืองจากยอดลงมา ซอกใบเน่า โคนเน่า และตายในที่สุด

โรคราแป้งในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Erysiphe cichoracearum De candolle Sphaerotheca fuliginea อาการที่สังเกตุได้ จะเป็นจุดเหลืองที่ยอดอ่อน ลำต้น และจุดเหลืองจะใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ใบแห้งตาย

เมล่อนต้นแตก เมล่อนยางไหล เกิดจากเชื้อรา Mycosphaerella melonis จะเกิดจุดวงกลมสีน้ำตาล หรือสีดำ จากขอบใบและขยายสู่กลางใบ จนทำให้ใบร่วง

โรคเมล่อนต่างๆ ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส เพื่อยังยั้งการระบาดของเชื้อรา ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรค และกลับมาเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี

แมลหวีขาว เป็นพาหะนำโรคมาติดสู่เมล่อนในแปลงของเรา เป็นแมลงศัตรูพืชที่ต้องกำจัด

เพลี้ยไฟเมล่อน สามารถระบาดแพร่กระจายตัวได้อย่างรวดเร็ว การพัดของกระแสลม ทำให้เพลี้ยระบาดไปได้ในพื้นที่กว้าง เพลี้ยไฟจะเข้าทำลายโดยการดูดน้ำเลี้ยง ทำให้ผลเมล่อนแคระ ไม่โต ต้นเมล่อนอ่อนแอ แห้งตายได้

ฉีดพ่นด้วย มาคา เพื่อกำจัดเพลี้ย และแมลงหวีขาว ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของแมลง

แมลงวันทอง จะเจาเข้าไปในผลเมล่อน เพื่อวางไข่ เป็นการเข้าทำลายเมล่อนโดยตรง

กำจัดหนอนต่างๆในเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ป้องกันกำจัดหนอน ผสมด้วย FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน

ยาอินทรีย์ป้องกันและกำจัดโรค แนะนำ สำหรับ เมล่อน

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3483
ยาแก้ฟักทองใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยฟักทอง ยาอินทรีย์รักษาโรคฟักทอง ปุ๋ยเร่งน้ำหนักฝักทอง
ยาแก้ฟักทองใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยฟักทอง ยาอินทรีย์รักษาโรคฟักทอง ปุ๋ยเร่งน้ำหนักฝักทอง
ฟักทองยอดม้วน ยอดหดสั้น ปล้องถี่ ยอดตั้ง ฟักทองใบหงิก ใบด่าง เกิดจากเพลี้ยไฟดูดน้ำเลี้ยง สามารถป้องกันและกำจัดได้ โดยการฉีดพ่น มาคา สารอัลคาลอยด์ป้องกันและกำจัดแมลง ปลอดสารพิษ ปลอดภัยกับทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

โรคเหี่ยวฟักทอง ฟักทองใบเหี่ยว ฟักทองใบไหม้ โรคราน้ำค้างฟักทอง ฟักทองเถาเหี่ยว ฟักทองผลเน่า โรคฟักทองต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ปลอดสารพิษ

อาการ ฟักทองใบเหลือง ฟักทองแคระ ไม่โต ขาดธาตุ โตช้า ฉีดพ่นด้วย FK-1 ปุ๋ยที่ประกอบด้วยธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม อย่างครบถ้วน ตามที่ฟักทองต้องการ

เร่งฟักทองให้ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดี หลังจากฟักทอง ถูกเข้าโจมตีจากโรครา หรือแมลงศัตรูพืช ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมๆกันกับตัวยา ฟักทองจะกลับมาเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว แตกยอดใหม่ แตกใบใหม่ ใบเขียว โตไว้ มีความสมบูรณ์แข็งแรง และติดผลมากขึ้น

เมื่อฟักทองติดผล สามารถเร่งผลฟักทองให้โตเร็ว ขยายขนาดผลให้ใหญ่ มีน้ำหนักดี รสชาติดี ผลสมบูรณ์ มีคุณภาพสูง ฉีดพ่นด้วย FK-3 สูตรสำหรับเร่งผลฟักทอง ที่ให้โพแตสเซียมสูงถึง 40% เพื่อเร่งผลให้โต ใหญ่ น้ำหนักดี คุณภาพดี ขายได้ราคา

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3584
โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง ป้องกันแลำกำจัดด้วยไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชือรา และ ปุ๋ย FK1

https://www.youtube.com/watch?v=F0v8ntNdjp8

โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง ป้องกันแลำกำจัดด้วย

ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชือรา ขนาด 3 ลิตร ราคา 900 บาท
และ ปุ๋ย FK1 เร่งให้พืชฟื้นตัว กลับมาโตและแข็งแรงอีกครั้ง ราคากล่องละ 890 บาท

สั่งซื้อทักแชต ได้เลยนะคะ หรือ
โทร 090-5928614
LINEID : farmkaset

สินค้าจัดส่งฟรีกับเคอรี่ เก็บเงินปลายทางค่ะ
อ่าน:3414
ยาแก้เพลี้ย ใน ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ กวางตุ้งดอกฮ่องกง ยากำจัดหนอน ยาแก้โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ และ ปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตุ้ง
ยาแก้เพลี้ย ใน ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ กวางตุ้งดอกฮ่องกง ยากำจัดหนอน ยาแก้โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ และ ปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตุ้ง
ยายับยั้งและป้องกัน โรคใบไหม้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ยาแก้เพลี้ย ยากำจัดหนอน และปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตั้ง กวางตุ้งฮ่องเต้ และ กวางตุ้งดอกฮ่องกง

หนอนใยผัก ใน ผัก กวางตุ้ง และหนอนคืบกะหล่ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยอ่อน ผัก กวางตุ้ง และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราน้ำค้าง ใน ผัก กวางตุ้ง

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า ผัก กวางตุ้ง แคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

โรคใบไหม้ ใน ผัก กวางตุ้ง

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้ ผัก กวางตุ้ง แคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

การป้องกันและยับยั้ง โรค ผัก กวางตุ้ง ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:4306
แก้โรคและแมลง กะหล่ำดาว เพลี้ยกะหล่ำดาว ยาแก้กะหล่ำดาวใบไหม้ และโรคราต่างๆ ปุ๋ยกะหล่ำดาว
แก้โรคและแมลง กะหล่ำดาว เพลี้ยกะหล่ำดาว ยาแก้กะหล่ำดาวใบไหม้ และโรคราต่างๆ ปุ๋ยกะหล่ำดาว
เพลี้ยอ่อน กะหล่ำดาว และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำดาว ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนใยผัก ในกะหล่ำดาว และหนอนคืบกะหล่ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำดาว ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราน้ำค้าง ในกะหล่ำดาว

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า กะหล่ำดาวแคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

โรคใบไหม้ ในกะหล่ำดาว

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้กะหล่ำดาวแคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำดาว ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำดาว ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)


ภาพจาก
health.mthai.com/ howto/health-care/28739.html
อ่าน:3374
531 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 53 หน้า, หน้าที่ 54 มี 1 รายการ
|-Page 52 of 54-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ต้นหอม รากเน่า!! ใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง โรคแอนแทรคโนส โรคหอมเลื้อย โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และ ฟื้นฟู ด้วย FK-T
Update: 2567/03/22 10:52:43 - Views: 3579
โรคพืช
Update: 2564/03/10 12:22:48 - Views: 3735
โรคมะพร้าวยอดเน่า ใบแห้ง ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/28 13:56:41 - Views: 3532
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
Update: 2563/05/21 09:25:27 - Views: 3472
ยากำจัด เพลี้ย ในบวบ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟบวบ แมลงศัตรูบวบ เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/01 22:08:47 - Views: 3385
โรคทุเรียนต่างๆ ทุเรียนใบไหม้ ราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนก้านธูป เชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2566/10/28 12:25:31 - Views: 10053
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2562/08/17 14:56:26 - Views: 3769
ความสำเร็จอันหอมหวานของการปลูกทุเรียน: คู่มือสำหรับเกษตรกร
Update: 2566/04/28 13:19:39 - Views: 8615
คู่มือป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในแมคคาเดเมีย แมคคาเดเมียใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราต่างๆ
Update: 2566/05/01 15:18:59 - Views: 10114
คู่มือเบื้องต้นสำหรับการ ป้องกันและกำจัดโรคในสวนยางพารา ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
Update: 2566/04/29 14:56:01 - Views: 7964
โรคหอมเลื้อย : ONION TWISTER DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
Update: 2564/08/09 05:02:38 - Views: 3418
โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ต้องหมั่นสังเกตุตรวจดูแลสวน หากพบ ให้เร่งป้องกันกำจัด
Update: 2566/11/04 14:14:10 - Views: 10157
หอยเชอรี่ สร้างรายได้หลัก 10,000 ต่อเดือน
Update: 2565/11/18 14:16:54 - Views: 3484
หนอนใยผัก หนอนกระทู้หอม แมลงศัตรู ที่สําคัญ พืชตระกูลกะหล่ำ และการป้องกันกําจัด
Update: 2564/03/10 22:17:18 - Views: 3482
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 สูตรเร่งผลใหญ่ ผลดก เพิ่มคุณภาพ สำหรับต้นอะโวคาโด้
Update: 2567/03/13 14:06:02 - Views: 3417
มะระ ยารักษาโรคราน้ำค้างมะระจีน มะระต่างๆ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/05 10:44:10 - Views: 3520
ปุ๋ยทุเรียน คุณภาพสูง ทดแทนปุ๋ยเม็ด ยาแก้ ทุเรียนใบไหม้ โรคใบติด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยทุเรียน หนอน
Update: 2565/05/02 06:04:58 - Views: 3533
ทุเรียนใบไหม้ ในช่วงอาการร้อนชื้น แดดจัด และมีฝนตกมาใบบางครั้ง
Update: 2563/04/21 09:11:49 - Views: 3421
โรคเน่าเปียก หรือ โรคราขนแมว ที่เกิดกับพริก (เชื้อรา Choanephora cucurbitarum )
Update: 2564/09/02 04:12:08 - Views: 3580
โรคสับปะรด ที่เกิดจากเชื้อราต่างๆ ทำให้เกิดอาการสับปะรดยอดเน่า รากเน่า ใบไหม้ ยกตัวอย่างได้ดังต่อไปนี้
Update: 2566/11/08 06:16:07 - Views: 10026
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022