[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ทุเรียน
425 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 42 หน้า, หน้าที่ 43 มี 5 รายการ

กำจัดโรค ไฟทอปธอรา ในทุเรียน ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ปลอดสารพิษ ยับยั้งเชื้อรา
กำจัดโรค ไฟทอปธอรา ในทุเรียน ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ปลอดสารพิษ ยับยั้งเชื้อรา
เชื้อรา ไฟทอปธอรา (Phytophthora spp.) ที่เกิดกับทุเรียน การเรียกชื่อโรค นั้น นักวิชาการและเกษตรกร มักเรียกตามอาการที่มองเห็น เช่น โรครากเน่า โรคโคนเน่า แต่ในความเป็นจริง เชื้อไฟทอปธอรา สามารถก่อให้เกิดอาการโรคได้ทุกส่วนของต้นพืช ตั้งแต่รากที่อยู่ใต้ดิน ลำต้นและใบ ไปจนถึงบนผลทุเรียน ขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่เชื้อแพร่กระจายเข้าทำลายในต้นพืช

ฉีดพ่นด้วย ไอเอส เพื่อกำจัดโรคต่างๆจากเชื้อรา ไอเอส เป็นสารอินทรีย์ป้องกันและกำจัดโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3404
โรคกิ่งแห้ง ทุเรียนกิ่งแห้ง
ทุเรียน มีอาการ กิ่งแห้ง บริเวณกิ่งมีเชื้อราสีขาวเจริญเป็นหย่อมๆ ใบที่ติดปลายกิ่งมีสีเหลืองและร่วงไป ซึ่งถ้ามองเผินๆ เกษตรกรอาจจะคิดว่า เกิดจากเชื้อราไฟทอปทอร่า พาลมิวอร่า สาเหตุเดียวกับโรครากเน่าโคนเน่า

แต่นักวิจัยทดลองแยกเชื้อ ได้เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน (Fusarium solani) และเมื่อปลูกเชื้อกลับเข้าไปที่ต้นกล้าทุเรียน อายุ 5 เดือน พบบริเวณกิ่งเกิดอาการเช่นเดิม จึงสรุปออกมาว่า เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน เป็นเชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งทุเรียน ซึ่งตอนนี้ระบาดมากแถวจังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี และพบได้ในเขตจังหวัดจันทบุรีเช่นกัน

เชื้อราตัวนี้ เมื่อเข้าทำลายบริเวณกิ่ง จะทำให้ท่อลำเลียงน้ำและอาหารถูกทำลาย น้ำจากรากที่ถูกลำเลียงขึ้นมาไปเลี้ยงกิ่งและใบไม่ได้ ทำให้กิ่งแห้ง ใบเหลืองและแห้ง ร่วง และต้นตายในที่สุด

- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3644
โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
สาเหตุ เชื้อราคอลเลโตตริคัม (Colletotrichum gloeosporiodes)

ลักษณะอาการ

ลักษณะอาการคล้ายโรคใบติด โดยใบจะไหม้เป็นสีน้ำตาล มักเกิดตามบริเวณขอบใบหรือกลางใบ บริเวณเนื้อใบที่ไหม้จะเป็นสีน้ำตาลอ่อน ขอบของแผลจะเป็นสีน้ำตาลเข้มล้อมรอบแผล เนื้อใบที่ถูกทำลาย จะมองดูโปร่งใส การเกิดโรคมักจะกระจายไปทั่วทั้งต้น ไม่เหมือนโรคใบติดที่มักพบกระจายเป็นหย่อมๆ โรคนี้พบได้ทั้งในช่วงฤดูฝนและฤดูแล้ง แต่มองเห็นอาการได้ชัดเจนในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งเป็นระยะที่ทุเรียนกำลัง ออกดอกติดผล

การแพร่ระบาด

มักพบในทุเรียนพันธุ์ชะนี ในพันธุ์หมอนทองพบอาการระบาดบ้างแต่ไม่รุนแรง โดยเชื้อจะแพร่ระบาดไปตามลม เข้าทำลายพืชเมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม

การป้องกันกำจัด

1. ดูแลต้นทุเรียนให้มีความแข็งแรงโดยการให้น้ำ และธาตุอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอ โดยเฉพาะในช่วงติดผลของทุเรียน

2. ในแหล่งปลูกที่พบโรคเสมอในช่วงทุเรียนแตกใบอ่อน ควรฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

3. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงให้ทุเรียน มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3468
โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)
โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)
โรคแอนแทรคโนส เกิดขึ้นและสร้างความเสียหายกับหลายพืช เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคแอนแทรคโนส อยู่ในจีนัส Colletotrichum (คอนเล็ตโททริคัม) มีพืชอาศัย หรือพืชที่เชื้อราชนิดนี้เข้าทำลาย มากกว่า 470 ตระกูล ถั่ว หญ้า ผัก ไม้ผลและไม้ประดับ ทําให้ผลผลิตเน่าเสียอายุการเก็บเกี่ยวสั้น เชื้อราสามารถเข้าทําลายได้ทุกส่วนของพืชตั้งแต่ลําต้น ใบ ก้าน ดอก ผล และเมล็ด ทําให้เปอร์เซ็นต์การงอกลดลง ถ้าเกิดกับต้นกล้าจะทําให้ต้นกล้าแห้งตายได้

เชื้อรา Colletotrichum spp.สามารถเข้าทําลายเซลล์พืชโดยตรงไม่ต้องผ่านช่องเปิดธรรมชาติหรือบาดแผล สามารถเข้าทําลายผลผลิต ตั้งแต่ระยะดอก ผลอ่อน โดยยังไม่แสดงอาการของโรค จัดเป็นการเข้าทําลายแบบแฝง( quiescent infection) จะแสดงอาการชัดเจนเมื่อผลผลิตแก่หรือเริ่มสุก

ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนส

อาการของโรคแอนแทรคโนส เริ่มจากจุดแผลแห้งเล็ก ๆ สีน้ําตาลแล้วค่อย ๆ เข้มขึ้นขยายออกเป็นวงกลมหรือวงรีซ้อนกันเป็นชั้น ๆ อาการของโรคจะเห็นชัดเจนในระยะที่ผลเริ่มสุกเมื่อมีความชื้นสูง จะพบการสร้างกลุ่มของสปอร์หรือ conidia สีส้มหรือสีชมพูเป็นหยดเหลวข้น บริเวณแผลโรคแอนแทรคโนสที่เกิดบนใบ ถ้าเกิดกับใบอ่อนทําให้ใบหงิกงอ อาการเริ่มจากจุดสีเทาและเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาลเข้ม อยู่กระจัดกระจาย เนื้อเยื่อกลางแผลบางและฉีกขาดเป็นรู นอกจากนี้โรคแอนแทรคโนส ยังสามารถเข้าทําลายกิ่ง ทําให้เกิดอาการไหม้ได้อีกด้วย

ภาพตัวอย่างด้านล่าง ประกอบด้วย
- โรคแอนแทรคโนสมะนาว
- โรคแอนแทรคโนสองุ่น
- โรคแอนแทรคโนสฝรั่ง
- โรคแอนแทรคโนสสตอเบอรี่
- โรคแอนแทรคโนสพริก
- โรคแอนแทรคโนสส้มโอ
- โรคแอนแทรคโนสมะม่วง
- โรคแอนแทรคโนสต้นหอม
- โรคแอนแทรคโนสพริกไทย
- โรคแอนแทรคโนสกล้วย
- โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง
- โรคแอนแทรคโนสถั่วเหลือง
ตามลำดับ

นอกจากนั้น ยังพบพืชที่นิยมปลูกในประเทศไทย ที่เป็นโรคแอนแทรคโนส ดังนี้
- โรคแอนแทรคโนสหน่อไม้ฝรัง เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp.
- โรคแอนแทรคโนสแตงโม เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum lagenarium (Pass.)
- โรคแอนแทรคโนสทุเรียน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum zibethinum Sacc.
- โรคแอนแทรคโนสกาแฟ สาเหตเกิดจากเชื้อรา Glomerella cingulataแบบใช้เพศ (teleemorph) หรือเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides แบบไม่ใช้เพศ (asexual stage-anamorph)
- โรคแอนแทรคโนสมะลิ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp.
- โรคแอนแทรคโนสต้นหน้าวัว สาเหตุ เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc.
- โรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. หรือ Colletotrichum sp.
- โรคแอนแทรคโนสกุหลาบ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz.

การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนส

1. ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน คอยสังเกตุอาการ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องนานเกิน 4-5 ครั้ง ควรหายามาสลับ เพื่อป้องกันการดื้อยา

2. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อเติม ธาตุหลัก ธาตุเสริม สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ เพื่อฟื้นฟูพืช ส่งเสริมการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3712
ป้องกัน กำจัด โรคผลเน่าในทุเรียน อาการทุเรียนผลเน่า (Fruit Rot)
ป้องกัน กำจัด โรคผลเน่าในทุเรียน อาการทุเรียนผลเน่า (Fruit Rot)
สาเหตุของอาการ ทุเรียนผลเน่า หรือโรคผลผเน่า ในทุเรียน เกิดจาก เชื้อราไฟทอฟธอรา (Phytophthora palmovora (Butler) Butler)

ลักษณะอาการ

บริเวณปลายผล หรือก้นผลมักพบจุดช้ำสีน้ำตาลปนเทา ต่อมาขยายเป็นวงกลมหรือค่อนข้างรีไปตามรูปร่างผล แผลดังกล่าวอาจพบได้ตั้งแต่ผลยังคงอยู่บนต้น แต่ส่วนใหญ่มักพบเกิดกับผลในช่วงประมาณ 1 เดือน ก่อนเก็บเกี่ยวจนกระทั่งเก็บเกี่ยว และในระหว่างบ่มผลให้สุก

การแพร่ระบาด

เชื้อราสามารถเข้าทำลายผลทุเรียนได้ตั้งแต่ระยะผลอ่อนจนกระทั่งแก่ โดยเฉพาะเมื่อผลใกล้แก่จะเป็นช่วงต้นฤดูฝนซึ่งมักจะเกิดลมพายุฝนพัดพาเอาเชื้อที่ติดอยู่กับดินขึ้นไปเกาะติดบนผลทุเรียนที่ติดอยู่บนต้น และเข้าทำลายทำให้เกิดแผลเน่าได้ ซึ่งบริเวณที่เชื้อเข้าทำลายส่วนใหญ่จะเป็นบริเวณก้นผลเนื่องจากเป็นบริเวณที่มีความชื้นสูงกว่าบริเวณอื่น

การป้องกันกำจัดโรคทุเรียนผลเน่า กำจัดโรคเชื้อราไฟทอฟธอราในทุเรียน

1. ทำการป้องกันกำจัดโรครากเน่าโคนเน่าที่เกิดกับต้นทุเรียนในแปลงปลูกเสียตั้งแต่ในช่วงฤดูฝนเศษชิ้นส่วนพืชที่เป็นโรคจะต้องเก็บออกนอกแปลงแล้วนำไปเผาทำลายเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในแปลงปลูก

2. หมั่นตรวจตราผลทุเรียนในแปลงอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในช่วงผลใกล้แก่ หากพบอาการผลเป็นจุดเน่า ควรทำการฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ห่างกัน 5-7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง ควรหายามาสลับ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องนานเกินไป

3. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงให้ทุเรียนสมบูรณ์แข็งแรง สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกับไอเอสได้ [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

4. ในแปลงปลูกที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคผลเน่าสูง อันเนื่องมาจากมีต้นที่เป็นโรครากเน่าโคนเน่าในแปลงมาก และมีฝนตกชุกในช่วงใกล้เก็บเกี่ยวผล เชื้อโรคอาจจะติดมากับผลได้โดยยังไม่แสดงอาการจำเป็นต้องจุ่มสารเคมี เช่น ฟอสเอทธิลอะลูมินั่ม ก่อนผึ่งให้แห้งแล้วดำเนินการบรรจุหีบห่อหรือส่งไปยังจุดหมายปลายทาง การเก็บเกี่ยวทุเรียนต้องระมัดระวังไม่ให้ผลทุเรียนสัมผัสกับดิน โดยใช้ตะกร้าพลาสติกหรือเข่ง หรือปูพื้นดินที่จะวางผลทุเรียนด้วยกระสอบที่สะอาด เพื่อลดโอกาสที่ผลจะสัมผัสกับดิน และการขนย้ายจะต้องระมัดระวังบาดแผลบนผลที่อาจเกิดจากหนามทิ่มแทงกัน

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3881
แก้โรคใบติดทุเรียน ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ทุเรียน
แก้โรคใบติดทุเรียน ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ทุเรียน
สาเหตุของโรคใบติดทุเรียน หรือโรคใบไหม้ทุเรียน เกิดจาก เชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.)

ลักษณะอาการของโรคใบไหม้ทุเรียน หรือ โรคใบติดทุเรียน

พบแผลคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบ บริเวณกลางใบหรือขอบใบ ต่อมาแผลขยายตัวลุกลามและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ขนาดและรูปร่างแผลไม่แน่นอนเชื้อราจะแพร่ไปยังใบอื่นที่ติดกันโดยการสร้างเส้นใยของเชื้อรายึดใบให้ติดกัน ทำให้เกิดอาการใบแห้งเป็นหย่อม ๆ และใบจะค่อย ๆ ร่วงหล่นลงยังโคนต้นเหลือแต่กิ่ง ซึ่งต่อมาจะค่อย ๆ แห้ง ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง และมีการเจริญเติบโตที่ไม่สมบูรณ์

การแพร่ระบาดของโรคใบติดทุเรียน หรือ โรคทุเรียนใบไหม้

เชื้อราสามารถพักตัวอยู่ในดินได้เป็นเวลานาน โดยอาศัยเศษซากพืช และแพร่ระบาดเข้าทำลายพืชระยะใบอ่อน โดยเฉพาะในช่วงในตกชุก

การป้องกันกำจัด โรคทุเรียนใบติด หรือ โรคใบไหม้ทุเรียน

1.ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้เหมาะสม โดยให้มีความชื้นในปริมาณที่ต้นทุเรียนเจริญเติบโตได้ดี และมีความชื้นในทรงพุ่มไม่เหมาะต่อการเข้าทำลายของเชื้อโรค

2. ในช่วงทุเรียนแตกใบอ่อนควรหมั่นสำรวจอาการของโรค หากพบโรคควรตัดกิ่งที่เป็นโรคออก นำไปเผานอกแปลงปลูก และพ่นด้วยสารกำจัดโรคพืช เช่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อส่งเสริมความสมบูรณ์ และแข็งแรง [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

3. เก็บและรวบรวมเศษใบเป็นโรคที่ร่วงหล่นอยู่บริเวณโคนต้น แล้วนำไปเผาทำลายเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในแปลงปลูกให้น้อยลง

4. ในแปลงปลูกที่ความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคเป็นประจำ ควรใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนต่ำ เพื่อลดความอุดมสมบูรณ์ของการแตกใบ

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3434
กัญชา กัญชง: จากสิ่งต้องห้ามเป็นสิ่งต้องมี
กัญชา กัญชง: จากสิ่งต้องห้ามเป็นสิ่งต้องมี
กัญชานั้นเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายมาเกือบร้อยปีในเกือบทุกประเทศทั่วโลก เนื่องด้วยสารที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาทในต้นกัญชา อย่างไรก็ตาม ด้วยประโยชน์ทางการแพทย์ของกัญชาที่นักวิทยาศาสตร์ยุคปัจจุบันได้ค้นพบพืชสมุนไพรชนิดนี้ จึงกลายเป็นโอกาสใหม่ของนักธุรกิจ_ นักลงทุน_ ผู้บริโภค และผู้ป่วยทั่วโลก

ช่วงปลายเดือน ม.ค.ที่ผ่านมา หลังรัฐประกาศอนุญาตให้ภาคเอกชนไทยปลูกกัญชงได้ หุ้นไทยที่มีแผนทำธุรกิจเกี่ยวกับกัญชงได้ปรับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง และได้รับความสนใจจากทั้งนักลงทุนไทยและต่างชาติ โดยประเทศไทยนั้นถือเป็นประเทศแรกในเอเชียที่อนุญาตให้มีการปลูกทั้งกัญชงและกัญชา โดยกัญชงนั้นทางภาครัฐอนุญาตให้ภาคเอกชนมาขออนุญาตปลูกได้ ส่วนการปลูกกัญชานั้นยังคงจำกัดให้เพียงบางหน่วยงานที่ได้รับอนุญาต เช่น โรงพยาบาล_ สถาบันการศึกษา และวิสาหกิจชุมชน

แม้ว่ากัญชาและกัญชงจะเป็นพืชที่คล้ายคลึงกันมาก เส้นแบ่งที่ชัดเจนที่สุดคือปริมาณสารที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท (tetrahydrocannabinol หรือ THC) โดยเหตุผลที่รัฐเปิดกว้างให้กับพืชกัญชงมากกว่านั้นเป็นเพราะกัญชงมีสาร THC น้อยจนไม่ก่อให้เกิดการนำมาสูบจนมึนเมาได้ ในขณะที่ในกัญชามีปริมาณ THC ในระดับที่สูงกว่าและเมื่อนำกัญชามาสูบแล้วจะมีสารออกฤทธิ์มึนเมา แต่สำหรับสารสำคัญที่ทำให้ทั้งกัญชาและกัญชงได้รับความนิยมเพื่อใช้ทางการแพทย์ คือสาร Cannabidiol หรือ CBD ซึ่งสามารถรักษาและบรรเทาโรคและอาการได้หลากหลาย เช่น โรคลมชัก_ พาร์กินสัน หรือแม้กระทั่งช่วยลดความทรมานจากการทำคีโมรักษามะเร็ง ประโยชน์ของ CBD นั้นมีหลายประการจนในประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลกได้ทำการปลดล็อกให้กัญชงและกัญชาสำหรับใช้ทางการแพทย์ถูกกฎหมาย

นอกจากประโยชน์ด้านการแพทย์ของ CBD อีกสาเหตุที่นักลงทุนให้ความสนใจต่อการเข้ามาของธุรกิจกัญชงถูกกฎหมายนั้นก็เพราะกัญชาและกัญชงนับเป็นพืชที่มีมูลค่าสูงมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก สำหรับเกษตรกรไทย ถ้าเลือกที่จะปลูกข้าวอาจมีรายได้เพียงหลักหมื่นต่อไร่ต่อปี ในขณะที่ปลูกกัญชงอาจได้ผลิตผล (โดยเฉพาะดอกกัญชงแห้งที่มีสาร CBD สูง) ที่มีมูลค่าหลักล้านบาทต่อไร่ต่อปี และการที่กัญชาเป็นพืชล้มลุก ระยะเวลา 1 การเก็บเกี่ยวประมาณสี่เดือน ทำให้ปีหนึ่งสามารถปลูกได้ถึง 1-3 รอบ ในขณะที่ผลไม้ยืนต้น เช่น ทุเรียน มังคุด สามารถเก็บเกี่ยวได้เพียงหนึ่งครั้งต่อปี

สำหรับภาพตลาดกัญชาทั่วโลก อ้างอิงข้อมูลจาก MarketsandMarkets ปี 2020 ตลาดกัญชาทั่วโลกมีขนาด 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ และคาดการณ์จะเติบโตได้ต่อเนื่องในอัตรา 28% ต่อปี จนมีขนาด 9 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2026 การเติบโตที่แข็งแกร่งนี้ก็จะมาจากการค่อยๆ ทยอยปลดล็อกกฎหมายกัญชาในแต่ละประเทศทั่วโลก และการเพิ่มการใช้ในประเทศที่กัญชาถูกกฎหมายอยู่แล้ว โดยเฉพาะในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งเป็นตลาดของการบริโภคกัญชาถูกกฎหมายที่ใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งประเทศแคนาดาได้มีการออกกฎหมายให้กัญชาถูกกฎหมาย ทั้งการใช้เพื่อการแพทย์และสันทนาการไปแล้วตั้งแต่ปี 2018 ส่วนในประเทศอเมริกาแต่ละรัฐก็มีการทยอยแก้กฎหมายกัญชาอย่างต่อเนื่อง

ในเวลาเดียวกันกับกระแสหุ้นกัญชงในประเทศไทย หุ้นกัญชาที่จดทะเบียนในอเมริกาก็ปรับตัวขึ้นอย่างมากเช่นกันตั้งแต่ต้นปี 2021 ได้แก่ Tilray ปรับตัวขึ้น 227%_ Aphria 192%_ Canopy Growth 37%_ Aurora 26% (หมายเหตุ: หุ้นสองตัวแรกขึ้นแรงเป็นพิเศษจากปัจจัยการควบรวมกันและจากการถูกดันโดยชาว Reddit) หลักๆ จากความหวังว่า ประธานาธิบดีไบเดนจะแก้กฎหมายให้กัญชาถูกกฎหมายในระดับสหพันธรัฐ (Federal level) หรือหมายถึงกฎหมายที่บังคับใช้ทั่วประเทศอเมริกา จากที่ปัจจุบันการใช้กัญชายังถือเป็นความผิดทางอาญาระดับสหพันธรัฐ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันแต่ละรัฐสามารถออกกฎหมายกัญชาแยกแตกต่างกันไปได้ เช่น รัฐแคลิฟอร์เนียกัญชาถูกกฎหมายทั้งเพื่อใช้ในการแพทย์และเพื่อสันทนาการ ในขณะที่รัฐเพนซิลเวเนียกัญชานั้นถูกกฎหมายเฉพาะเพื่อการแพทย์ โดยปัจจุบันมีทั้งสิ้น 15 รัฐที่สามารถใช้กัญชาเพื่อสันทนาการได้ และ 34 รัฐที่สามารถใช้กัญชาเพื่อการแพทย์ได้

X

แม้ว่าหุ้นกัญชาที่จดทะเบียนในสหรัฐฯ โดยภาพรวมจะยังขาดทุนอยู่ด้วยค่าใช้จ่ายที่สูงโดยเฉพาะค่า R&D แต่ถ้าการเติบโตของยอดขายมีอย่างต่อเนื่องก็จะสามารถกำไรได้ในที่สุด โดยหุ้นกัญชาบางตัวก็เริ่มมี EBITDA เป็นบวกแล้ว (EBITDA คือ กำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อม และค่าตัดจำหน่าย)

สำหรับนักลงทุนที่สนใจลงทุนในธุรกิจกัญชาต่างประเทศก็ควรจะศึกษาในรายละเอียดเพื่อเพิ่มความรู้และความเข้าใจในธุรกิจ เลือกบริษัทที่ผู้บริหารมีความสามารถและมีศักยภาพในการเติบโต ประกอบกับเลือกหุ้นที่มูลค่าสมเหตุผล นอกจากนี้ ควรกระจายการลงทุนในหลายบริษัท ไม่ลงทุนกระจุกตัวจนเกินไปเพื่อลดความเสี่ยงเฉพาะของแต่ละบริษัท นักลงทุนควรศึกษากฎระเบียบของตลาดที่จะลงทุนรวมถึงภาษี รวมถึงการเปิดบัญชี Broker ซื้อขายหลักทรัพย์ และการป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน อีกทางเลือกหนึ่ง นักลงทุนสามารถเลือกลงทุนผ่านกองทุนรวม หรือ Exchange Traded Fund (ETF) ที่ลงทุนในหุ้นที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจกัญชาหลายๆ ตัวไว้ด้วยกัน ตัวอย่างเช่น ETFMG Alternative Harvest ที่ลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับกัญชา ยาสูบ และอื่นๆ ครอบคลุมถึงกัญชาเพื่อการแพทย์และสันทนาการ

ในอดีตนักลงทุนอาจจะมองว่ากัญชาเป็นสิ่งเสพติด แต่หากเรามองถึงประโยชน์ทางการแพทย์ของสาร CBD ในกัญชา การลงทุนในหุ้นกัญชาก็ไม่ต่างจากการลงทุนธุรกิจนวัตกรรมสุขภาพ ที่จะมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกมาที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยนานาประเทศ

Reference: โดย ผู้จัดการออนไลน์
อ่าน:3400
โรคราสีชมพูในลองกอง
โรคราสีชมพูในลองกอง
สาเหตุของโรคราสีชมพูในลองกอง เกิดจากเชื้อรา Corticium salmonicolor Berk & Br.

ลักษณะอาการ ของโรคราสีชมพู

เชื้อราเข้าทําลายบริเวณกิ่งและลําต้น โดยเชื้อราจะเริ่มจับที่กิ่งและลําต้นเป็นจุดสีขาวเล็กๆ แล้วเจริญเป็นเส้นใยปกคลุมบางๆ และค่อยๆ หนาขึ้น ทําให้เปลือกที่หุ้มลําต้น กิ่ง เน่าเปื่อยยุ่ยเป็นสีน้ําตาลอ่อน เมื่อถูกทําลายรุนแรงเส้นใยจะเปลี่ยนเป็นสีชมพู อาการต้นลองกองที่โรคราสีชมพูเข้าทําลายที่สังเกตได้เด่นชัด คือ ใบจะเริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แคระแกร็น ใบแห้งและร่วงหล่น เนื้อเปลือกเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาล กิ่งหรือลําต้นจะแห้งตายไปในที่สุด หากพบเชื้อราเข้าทําลายบนกิ่งที่มีหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกองเข้าทําลายจะทําให้กิ่งแห้งตายอย่างรวดเร็ว

พืชอาศัยของโรคราสีชมพู

ราสีชมพูสามารถเข้าทําลายพืชได้หลายชนิด เช่น ลองกอง ยางพารา กาแฟ ส้มเขียวหวาน มะม่วง ทุเรียน การแพร่กระจายและฤดูการระบาด

โรคราสีชมพูระบาดมากในช่วงฤดูฝน มักเกิดกับต้นที่มีทรงพุ่มแน่นทึบ หรือมีการทําลายของหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกอง การทําสวนลองกองใกล้กับการทําสวนยางพาราควรระมัดระวังโรคนี้ให้มาก เพราะเป็นโรคที่ระบาดรุนแรงในยางพาราเช่นกัน

การป้องกันและกําจัด โรคราสีชมพู

1. ควรทําการตัดแต่งกิ่งลองกองให้ทรงพุ่มโปร่ง ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก เป็นการลดความชื้นในทรงพุ่มและลดการสะสมเชื้อรา โดยเฉพาะกิ่งที่มีการทําลายของหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกอง

2. ในช่วงฤดูฝนหมั่นตรวจแปลงบ่อยๆ ถ้าพบอาการในระยะแรกให้ถากเปลือก และ ฉีดพ่นด้วยไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

3. ตัดกิ่งส่วนที่เป็นโรคไปเผาทําลาย และฉีดพ่นแผลด้วย ไอเอส

4. ในช่วงที่มีการระบาด ฉีดพ่นไอเอส ผสม FK-1 ทุก 5-7 วัน หมั่นสังเกตุอาการ หากจำเป็นต้องใช้มากกว่า 4 ครั้ง ควรหายามาสลับใช้ เพื่อป้องกันการดื้อยา

Reference
Main content from: trat.doae.go.th
อ่าน:3650
โรคใบไหม้ในทุเรียน โรคใบติดทุเรียน เกิดได้ง่าย ในช่วงอากาศร้อน ปนฝน
โรคใบไหม้ในทุเรียน โรคใบติดทุเรียน เกิดได้ง่าย ในช่วงอากาศร้อน ปนฝน
สภาพอากาศร้อนชื้น เวลากลางวันมีแดดจัด และมีฝนตกในบางพื้นที่ช่วงนี้ แนะนำให้เกษตรกรชาวสวนทุเรียนเฝ้าระวัง การระบาดของโรคใบไหม้หรือโรคใบติด สามารถพบได้ในระยะการเจริญเติบโตทางลำต้น อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจะลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง กรณีที่มีความชื้นสูงเชื้อราสาเหตุโรคจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน ใบที่เป็นโรคจะแห้งติดอยู่กับกิ่งก่อนหลุดร่วงไปสัมผัสกับใบที่อยู่ด้านล่าง ทำให้โรคระบาดลุกลามจนใบไหม้เห็นเป็นหย่อมๆ ใบแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง และกิ่งแห้งในที่สุด ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง

สำหรับแนวทางในการป้องกันโรคใบไหม้ เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบการระบาดของโรคใบไหม้ ให้เกษตรกรตัดส่วนที่เป็นโรคและเก็บเศษพืชที่เป็นโรคและใบที่ร่วงหล่นนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อลดปริมาณเชื้อสะสมในแปลง จากนั้น ให้เกษตรกรพ่นที่ใบให้ทั่วทั้งต้นด้วย สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อนำ้ 20ลิตร สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมในคราวเดียวกัน เพื่อฟื้นฟู บำรุงพืช จากการเข้าทำลายของโรคได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ส่วนในแปลงปลูกที่มีความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคเป็นประจำ หลีกเลี่ยง การใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อลดการแตกใบของต้นทุเรียน จากนั้น ให้เกษตรกรตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่งและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูก เพื่อให้อากาศถ่ายเทสะดวก และช่วยลดความชื้นสะสมในแปลงปลูก อีกทั้งควรทำความสะอาดอุปกรณ์การเกษตรเมื่อใช้กับต้นที่เป็นโรคก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ทุกครั้ง

Reference
Main content from: technologychaoban.com
อ่าน:3423
ทุเรียนป่าละอู หวาน-มัน เนื้อหนา ผลผลิตแปลงใหญ่ จ.ประจวบฯ
ทุเรียนป่าละอู หวาน-มัน เนื้อหนา ผลผลิตแปลงใหญ่ จ.ประจวบฯ
สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จ.ราชบุรี เร่งผลักดัน หวังยกระดับแปลงใหญ่ทุเรียนป่าละอู จ.ประจวบคีรีขันธ์ สู่มาตรฐาน GAP

เมื่อวันที่ 11 มี.ค.64 นางธัญธิตา บุญญมณีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จ.ราชบุรี กล่าวว่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรแปลงใหญ่ทุเรียนป่าละอู ต.ห้วยสัตว์ใหญ่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งมี นายประโยชน์ พรหมสุวรรณ เป็นประธานกลุ่ม ได้รวมกลุ่มกันเมื่อปี 2562 มีสมาชิก 50 กว่าราย พื้นที่ 500 กว่าไร่ ปัจจุบันมีเกษตรกรปลูกทุเรียนจำนวนมาก ด้วยสภาพภูมิประเทศที่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตของต้นทุเรียน จึงเหมาะอย่างยิ่ง

ดังนั้น จึงได้มีการรวมตัวของเกษตรกรที่ปลูกทุเรียนป่าละอู ใน ต.ห้วยสัตว์ใหญ่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ จัดตั้งเป็นแปลงใหญ่ทุเรียนป่าละอู เมื่อปี 2562 เพื่อการลดต้นทุนการผลิต การผสมปุ๋ยใช้เองตามความต้องการของต้นทุเรียน การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ การผลิตสารชีวภัณฑ์เพื่อใช้ในการจัดการกับโรคและแมลงที่ต้องแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อลดต้นทุนให้ได้มากที่สุด เพิ่มผลผลิตโดยใช้การตัดแต่งต้น การปัดดอก การตัดแต่งผล ให้ได้ผลผลิตที่มีขนาดที่คุณภาพตามความต้องการของตลาด มีการบริหารจัดการกลุ่ม บริหารจัดการในรูปแบบคณะกรรมการ มีการวางแผนการผลิตกับสมาชิกกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตจำหน่าย นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาคุณภาพสินค้าและคุณภาพให้สูงขึ้น ได้รับรองมาตรฐาน GAP ทุกแปลง มีการใช้ปุ๋ยและฮอร์โมนในอัตราที่เหมาะสม คัดเกรดให้ได้ขนาดที่เหมาะสม และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ในการจำหน่าย และมีการตลาดแบบขายส่ง การจัดมหกรรมสินค้าเกษตร การทำการตลาดแบบออนไลน์ ผ่าน Line และ Facebook

จุดเด่นของกลุ่มคือ การควบคุมคุณภาพการผลิตโดยกลุ่มเกษตรกรให้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี ทำให้ทุเรียนได้คุณภาพ มีการใช้สารชีวภัณฑ์เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคเพิ่มมากขึ้น สร้างแบรนด์ของตนเอง ในนามวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ผู้ปลูกทุเรียนป่าละอู และทุเรียนหมอนทองป่าละอู หรือ ทุเรียนป่าละอู (PaLa-U Durian) ซึ่งหมายถึงทุเรียนพันธุ์หมอนทองที่ปลูกในพื้นที่ ป่าละอู ต.ห้วยสัตว์ใหญ่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น เฉพาะตัว มีรสหวาน เนื้อหนาเนียนละเอียด สีเหลืองอ่อน เนื้อแห้งมีความมันมากกว่าความหวาน กลิ่นไม่รุนแรง ได้รับการขึ้นทะเบียน GI จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา เลขที่ 54100075 ไว้อีกด้วย

"สำนักงานส่งเสริมฯ ได้เข้ามาส่งเสริมให้ความรู้แก่เกษตรกรในหลายๆ ด้าน ทั้งการบริหารจัดการกลุ่ม การแปรรูป การลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตและพัฒนาคุณภาพสินค้า และที่สำคัญคือการส่งเสริมให้เกษตรกรทุกรายได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย GAP ซึ่งเป็นการช่วยยกระดับแปลงใหญ่ทุเรียนป่าละอูซึ่งทุเรียนป่าละอูมีลักษณะทางกายภาพ คือมีรูปทรงผลเป็นวงรีบริเวณด้านใต้ผลแหลม น้ำหนักระหว่าง 1.5-5 กิโลกรัม เปลือกมีสีเขียวปนน้ำตาล ปลายหนามแหลมคมมาก ร่องพูชัดเจน ก้านขั้วค่อนข้างใหญ่ สีน้ำตาล จับดูจะรู้สึกสาก พอแก่จัดขั้วจะมีรสหวาน เนื้อหนา สีเหลืองอ่อน รสชาติ หวาน มัน เมล็ดลีบทำให้รู้สึกมีเนื้อหนาขึ้น เป็นทุเรียนที่เป็นทั้งเอกลักษณ์และขึ้นชื่อที่ อ.ป่าละอู จ.ประจวบคีรีขันธ์ เลยก็ว่าได้" นางธัญธิตา กล่าว.

Reference
thairath.co.th/news/local/central/2048127
อ่าน:3394
425 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 42 หน้า, หน้าที่ 43 มี 5 รายการ
|-Page 40 of 43-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
พุทรา โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/04/08 15:15:54 - Views: 3425
FK Park
Update: 2563/10/07 21:45:53 - Views: 3473
แก้ทุเรียนเล็กใบไหม้ ใบแห้ง ยอดไหม้ ใบเหลือง เพราะโรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/05/07 12:21:17 - Views: 4786
เร่งความสมบูรณ์ของต้นทับทิมด้วย ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO
Update: 2567/02/12 14:01:24 - Views: 3431
โรคกัญชา กัญชาใบไหม้ กัญชาใบเหลือง ดูสาเหตุของโรคและแก้ปัญหา
Update: 2565/09/08 08:36:59 - Views: 3956
เติบโตไร้ขีดจำกัด: ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO เพื่อเร่งการออกดอกและรากของต้นเสาวรส
Update: 2567/02/12 14:00:39 - Views: 3414
ชมพู่ รากเน่า ผลเน่า โครแอนแทรคโนส กำจัดเชื้อรา ใน พืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T
Update: 2566/03/31 13:45:47 - Views: 3395
มะยงชิดใบไหม้ มะปรางใบไหม้ ใบจุด ราสนิม แอนแทรคโนส โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/09/15 23:25:03 - Views: 3566
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในหัวไชเท้า และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/20 13:51:46 - Views: 3451
ยากำจัดโรคราแป้ง ใน พริก โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/12 10:49:58 - Views: 3409
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราน้ำค้าง ในกัญชา กัญชง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/21 10:36:41 - Views: 3627
น้อยหน่า ใบไหม้ ดอกร่วง โรคมัมมี่ โรคแอนแทรคโนส กำจัดเชื้อราในพืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T
Update: 2566/04/12 11:09:19 - Views: 3414
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น ส้ม บำรุง ผลใหญ่ ดกเต็มต้น ผลผลิตดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/03/11 08:40:18 - Views: 3538
กำจัดเพลี้ย ใน ต้นขนุน เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/10 15:53:46 - Views: 3405
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคแอนแทรคโนส ใน ถั่วเหลือง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/16 14:29:22 - Views: 3403
การปลูกอินทผาลัม: คู่มือฉบับสมบูรณ์
Update: 2566/04/28 13:51:14 - Views: 3668
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: เพิ่มสมรรถภาพของต้นลำไย
Update: 2567/02/13 08:56:29 - Views: 3483
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวันทอง ใน พุทรา และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/07 12:59:21 - Views: 3570
การเลือกซื้อ ดาบ คาตานะ ดาบซามูไร ให้ได้คุณภาพดี ในราคาไม่แพง
Update: 2566/10/28 12:32:08 - Views: 9669
กำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช ในไม้ดอกไม้ประดับ ด้วย มาคา สารอินทรีย์
Update: 2564/06/07 10:54:35 - Views: 3550
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022