[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - เร่งการเจริญเติบโต
436 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 43 หน้า, หน้าที่ 44 มี 6 รายการ

กำจัดเชื้อรา มังคุด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
กำจัดเชื้อรา มังคุด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

เนื้อใบมังคุดที่ถูกทำลายจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดงจนแห้งกรอบขาดหลุดร่วงไปและพบส่วนขยายพันธุ์ที่เป็นเม็ดกลมๆ สีดำเรียงตัวกันเป็นจำนวนมาก บริเวณรอบๆ เนื้อเยื่อที่เป็นแผลจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองล้อมรอบแผลที่แห้งอีกชั้นหนึ่ง เนื่องจากเชื้อราสร้างสารพิษออกมาทำลายเนื้อเยื่อใบไม้


ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และ ช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
กำจัดเชื้อรา กะหล่ำดอก ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
กำจัดเชื้อรา กะหล่ำดอก ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

เชื้อรา เข้าทำลายในระยะสร้างดอก จะเกิดเป็นจุดดำเล็กๆ บนช่อดอก หากอาการรุนแรงดอกอาจยืดหรือบิดเบี้ยวเสีย รูปทรง

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค


FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และ ช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ยาฆ่าเพลี้ย มะยม ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ยาฆ่าเพลี้ย มะยม ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
มาคา และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

เพลี้ยอ่อนมักเกาะบนมะยม จะดูดกินน้ำเลี้ยง มะยมค่อยๆเหี่ยวเฉา

มาคา สารอัลคาลอยต์ กำจัดเพลี้ย (ขนาด1ลิตร อัตรการผสม 50-100 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 3-7วัน)
เป็นสารอัลคาลอยด์สกัดจากธรรมชาติที่ถูกคัดสรรอย่างพิถีพิถัน โดยใช้หลักการเทคโนโลยีชั้นสูง
โดยดารรวมสารอัลคาลอยด์เข้มข้นที่มีประสิทธิภาพสูงเข้าด้วยกัน สามารถฉีดพ่นได้ในช่วงก่อนเก็บเกี่ยว
โดยปราศจากสารพิษตกค้างในดินและน้ำ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม มาคา และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ทำไมต้อง เกษตรอินทรีย์ ?
ทำไมต้อง เกษตรอินทรีย์ ?
เกษตรกรและการเกษตรกรรม เป็นอาชีพที่อยู่คู่คนไทยมาอย่างช้านานจนกลายเป็นรากฐานของสังคมไทย การปลูกพืชพันธุ์ต่าง ๆ เป็นการผลิตของคนส่วนใหญ่ วิถีชีวิตของคนเพาะปลูกและทำอาชีพเกษตรกรจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเสริมสร้างสังคม วัฒนธรรม การปกครอง การกินอยู่ ความคิด ความเชื่อ ตลอดจนการแสดงออกต่าง ๆ ของคนในประเทศและรวมไปถึงเรื่องของการค้า เศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศ ดังนั้นเราจึงต้องดูแลให้อาชีพเกษตรกรอยู่ได้อย่างมีความสุขและมั่นคงในอาชีพของเขา


และในยุคสมัยที่เทคโนโลยี นวัตกรรมและสิ่งต่าง ๆ เข้ามามีอิทธิพลและบทบาทในการทำอาชีพของเกษตรกร ไปจนถึงปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและการทำงานไป เช่น จากการใช้ควายไถนา เปลี่ยนมาใช้เครื่องจักร_ การใช้ปุ๋ยและสารเคมี_ การใช้เทคโนโลยีควบคุมการปล่อยน้ำและอื่น ๆ อีกมาก ก็ยิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเสริมสร้าง พัฒนาและเรียนรู้สิ่งเหล่านั้นให้วงการเกษตรก้าวไกลให้ทันโลกและนำมาประยุกต์ใช้ในวงการเกษตรของไทยให้ได้ แต่เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยแม้จะอำนวยความสะดวก แต่ด้วยปัจจัยภายนอกต่าง ๆ ทั้งเรื่องที่ดิน_ ต้นทุนการผลิตที่มากขึ้น_ ภัยพิบัติ_ ภาวะเศรษฐกิจ และอื่น ๆ ก็ทำให้ภาคการเกษตรนั้นมีแนวโน้มที่จะอยู่อย่างลำบากมากขึ้น จนเกษตรกรที่เป็นอาชีพหลักนั้นอยู่อย่างลำบาก และมีแนวโน้มที่จะมีหนี้สินมากยิ่งขึ้น

ด้วยเหตุนี้ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือสวก. จึงเป็นหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนการวิจัยการเกษตร เพื่อเกษตรไทยอยู่ได้อย่างเข้มแข็งอย่างมั่นคง ยั่งยืนและผลักดันให้วงการเกษตรก้าวไกลให้ทันยุคสมัย โดยทางสวก. นั้นมีผลงานและงานวิจัยมากมายที่ได้ให้การสนับสนุนแก่นักวิจัย เกษตรกรและผู้ที่สนใจ ตั้งแต่โครงการอบรม การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย_ การให้ทุนการวัยวิจัยในหัวข้อต่าง ๆ ที่กำหนด_ การผลักดันเกษตรกรให้เป็น Smart Farmer_ การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ_ การวิจัยพืชพันธุ์ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตการเกษตรต่าง ๆ และมีผลงานอีกมากมายที่สวก. พยายามผลักดันและสนับสนุนให้การเกษตรก้าวไกลและอยู่ได้อย่างเข้มแข็ง

และเพื่อให้เกษตรกรไทยอยู่ได้อย่างเข้มแข็งจริง สวก. จึงมีวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ ค่านิยมและพันธกิจต่าง ๆ เกษตรอินทรีย์ คือ อะไร และทำไมต้องเกษตรอินทรีย์?

หลายท่านเคยสงสัยหรือมีคำถาม ว่าเกษตรอินทรีย์คืออะไร ทำไมเดี๋ยวนี้ เราไปเลือกซื้อสินค้าที่ห้างสรรพสินค้า สินค้าหรือวัตถุดิบต่างๆ มักจะมีฉลากระบุที่ข้างกล่องหรือภาชนะ ว่าเป็นเกษตรอินทรีย์ วันนี้เรามาทำความรู้จักกับการทำเกษตรอินทรีย์ ว่ามีที่มาที่ไปอย่างไร

เกษตรอินทรีย์

คือการทำการเกษตรด้วยกรรมวิธีทางธรรมชาติ โดยที่พื้นที่ที่ทำเกษตรนั้น ต้องไม่มีสารพิษ หรือสารเคมีตกค้างและหลีกเลี่ยงจากการปนเปื้อนของสารเคมีทั้งทางดิน ทางน้ำ และทางอากาศ เพื่อความสมบูรณ์ทางชีวภาพในระบบนิเวศน์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามสมดุลของธรรมชาติให้มากที่สุด โดยไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ หรือสิ่งที่ได้มาจากการตัดต่อพันธุกรรม และมุ่งเน้นการใช้ปัจจัยการผลิตที่มีแผนการจัดการอย่างเป็นระบบในการผลิตภายใต้มาตรฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ให้ได้ผลผลิตสูง อุดมด้วยคุณค่าทางอาหารและปลอดสารพิษ ทั้งยังช่วยลดต้นทุนการผลิต และสามารถประยุกต์ใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิต และสนับสนุนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

ทำไมต้องเกษตรอินทรีย์

จากการใช้ทรัพยากรดินทำการเกษตรโดยไม่คำนึงถึงผลเสียของ ปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ ก่อให้เกิดความไม่สมดุลในแร่ธาตุและกายภาพของดินตามธรรมชาติ ทำให้สิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์ที่อาศัยอยู่ในดินนั้นสูญหาย และไร้ประสิทธิภาพ ซึ่งการที่ธรรมชาติขาดสมดุลนี้ถือเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ต่อกระบวนการเจริญเติบโตทางธรรมชาติ แต่เมื่อเกิดความไม่สมดุลขึ้นแล้ว จะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างต่อเนื่อง ผืนดินสูญเสียความสามารถในการดูดซับแร่ธาตุในดิน ทำให้ผลผลิตมีแร่ธาตุ วิตามิน และพลังงานชีวิตต่ำ เป็นผลให้เกิดการขาดแคลนธาตุอาหารรองในพืช เป็นสาเหตที่ทำให้พืช ผลผลิตอ่อนแอ ขาดภูมิต้านทานโรค และทำให้เกิดการคุกคามของแมลง ศัตรูพืช และเชื้อโรคในพืช ซึ่งจะนำไปสู่การใช้สารเคมีฆ่าแมลงและเชื้อราเพิ่มขึ้น ทำให้ดินเสื่อมคุณภาพในที่สุด และในดินที่เสื่อมคุณภาพนี้ จะทำปฏิกิริยาเร่งการเจริญเติบโตของศัตรูพืชให้เจริญเติบโตแข่งกับพืชเกษตร และนำไปสู่การใช้สารเคมีสังเคราะห์กำจัดแมลงและวัชพืช

เป็นเกษตรอินทรีย์ได้อย่างไร

การเกษตรปัจจุบัน สามารถปรับเปลี่ยนเป็นเกษตรอินทรีย์ได้โดยเริ่มต้นศึกษาหาความรู้จากมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ถูกกำหนดขึ้น ซึ่งเกษตรกรควรเริ่มต้นด้วยความสนใจ โดยศึกษาหาความรู้จากธรรมชาติ และเมื่อเริ่มปฏิบัติตามนี้แล้วก็นับได้ว่าก้าวเข้าสู่การทำเกษตรอินทรีย์ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นเกษตรอินทรีย์ในระยะปรับเปลี่ยนเรียนรู้ และเมื่อได้ลงมือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่องตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ไม่นานก็จะสามารถเป็นเกษตรอินทรีย์ได้ ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับประเภทของการทำเกษตรอินทรีย์ที่จะผลิตขึ้นนั้น ซึ่งได้ถูกกำหนดไว้ในมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แล้ว และหลักการสำคัญ คือการทำความเข้าใจเกษตรอินทรีย์ และมีความตั้งใจจริง มีความขยันหมั่นเพียร โดยไม่ท้อถอยต่อปัญหาหรืออุปสรรค จะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์และประสบความสำเร็จได้ไม่ยาก เพราะเกษตรอิทรีย์เป็นเรื่องที่ทุกคนสามารถปฏิบัติได้จริง แล้วเกษตรกรเองก็สามารถขอรับการผ่านรับรองมาตรฐานจากภาครัฐจึงจะนับได้ว่าเป็นเกษตรอินทรีย์ที่สมบูรณ์พร้อม

หลักการผลิตพืชอินทรีย์

1. พื้นที่ที่จะทำการเกษตรนั้นต้องไม่เคยทำการเกษตรเคมีมาไม่น้อยกว่า 3 ปี

2. พื้นที่ควรมีลักษณะค่อนข้างดอนและโล่งแจ้ง

3. พื้นที่ต้องอยู่ห่างจากโรงงานอุตสาหกรรม

4. พื้นที่ควรอยู่ห่างจากแปลงที่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี

5. พื้นที่ห่างจากถนนหลวงหลัก

6. พื้นที่มีแหล่งน้ำที่ปลอดสารพิษ

มาตรฐานของเกษตรอินทรีย์

มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ คือเกณฑ์ข้อกำหนดที่เกษตรกรผู้ผลิตจะต้องปฏิบัติตาม และหน่วยงานรับรองจะใช้เป็นเกณฑ์ในการตรวจประเมินการผลิต และตัดสินใจในการรับรองฟาร์มที่ได้ปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานนั้นๆ

ปกติในการกำหนดมาตรฐานโดยส่วนใหญ่ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเกษตรอินทรีย์กลุ่มต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกรผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ผู้ค้า ผู้บริโภค รวมทั้งนักสิ่งแวดล้อม และนักวิชาการด้านต่างๆ จะมีส่วนร่วมในการให้ความคิดเห็น และตัดสินใจในการกำหนดเกณฑ์มาตรฐานในแต่ละข้อ ความคาดหวังหรือการให้คุณค่ากับการปฏิบัติเกษตรอินทรีย์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแต่ละส่วนจะถูกตรวจสอบ และยอมรับหรือปฏิเสธโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ โดยเฉพาะเกษตรกรผู้ผลิตและผู้ประกอบการ เพราะผู้ผลิตและผู้ประกอบการจะเป็นผู้ที่ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อกำหนดเหล่านั้น ดังนั้น มาตรฐานจึงเปรียบเสมือนหนึ่งเป็นกระบวนการแปลความคาดหวังและคุณค่าของเกษตรอินทรีย์ให้เป็นรูปธรรมในทางปฏิบัติ ดังนั้น ข้อตกลงในมาตรฐานจึงเปรียบเหมือนเป็น “สัญญาประชาคม” ระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด ทำให้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มีสถานะเสมือนหนึ่งเป็น “คำนิยาม” ของเกษตรอินทรีย์ไปพร้อมกันด้วย

จะเห็นได้ว่า มาตรฐานเกษตรอินทรีย์เป็นภาพสะท้อนของสภาวการณ์การผลิตและการแปรรูปผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ที่เกษตรกรได้พัฒนายกระดับความสามารถในการทำการผลิตและแปรรูปให้ก้าวรุดหน้ามากขึ้น ดังนั้น มาตรฐานเกษตรอินทรีย์จึงไม่ใช่มาตรฐานที่หยุดนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง แต่เป็นสภาพการณ์ที่ยังสามารถมีการแปรเปลี่ยนได้ตลอดเวลา ตามสภาวการณ์ของการผลิตเกษตรอินทรีย์ ที่นับวันมีแต่จะก้าวรุดหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ

ในที่นี้ จะขอกล่าวถึงข้อกำหนดโดยสรุปของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในบางเรื่องที่สำคัญ

1) ระบบนิเวศการเกษตร

ระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์ต้องเอื้ออำนวยต่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้ม ซึ่งผู้ผลิตจะต้องดำเนินการในการอนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพและสภาพนิเวศท้องถิ่นดั้งเดิมไว้ เพื่อให้พืชพรรณและสัตว์ท้องถิ่นสามารถมีที่อยู่อาศัยได้อย่างเพียงพอ นอกเหนือจากการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพแล้ว เกษตรอินทรีย์ยังจำเป็นต้องมีมาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ำอย่างจริงจังอีกด้วย

2) การปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์

การปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ควรเริ่มจากการมีแผนการปรับเปลี่ยนที่ชัดเจน โดยแผนการปรับเปลี่ยนดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับข้อกำหนดของมาตรฐาน โดยอาจจะปรับเปลี่ยนฟาร์มทั้งหมดเข้าสู่เกษตรอินทรีย์พร้อมกัน หรือค่อยๆ ปรับเปลี่ยนบางส่วนของฟาร์มเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ก็ได้ แต่ทั้งนี้ แผนการปรับเปลี่ยนจะต้องระบุถึงขั้นตอนและระยะเวลาในการปรับเปลี่ยนฟาร์มทั้งหมดเข้าสู่เกษตรอินทรีย์ รวมทั้งการจัดแยกระบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์และไม่ใช่เกษตรอินทรีย์ออกจากกัน ซึ่งในแต่ละมาตรฐานอาจกำหนดระยะเวลาของการปรับเปลี่ยนแตกต่างกันไป ซึ่งในช่วงระยะปรับเปลี่ยนนี้อาจใช้เวลา 12 – 36 เดือนขึ้นอยู่กับมาตรฐาน

3) การผลิตพืช

ในระบบการปลูกพืช ควรเลือกปลูกพืชที่หลากหลายชนิดและพันธุ์ เพื่อสร้างเสถียรภาพและความยั่งยืนของนิเวศฟาร์ม นอกจากนี้ การปลูกพืชหลากหลายพันธุ์ ยังเป็นการช่วยรักษาความหลากหลายของพันธุกรรมพืชไว้ด้วย ในการสร้างความหลากหลายของการปลูกพืชนี้ ควรมีการปลูกพืชหมุนเวียน โดยมีพืชที่เป็นปุ๋ยพืชสดรวมอยู่ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งพืชตระกูลถั่วและพืชที่มีระบบรากลึก โดยจัดระบบการปลูกพืชให้มีพืชคลุมดินอยู่ตลอดทั้งปี

4) การจัดการดิน และธาตุอาหาร

การจัดการดินที่ดีเป็นพื้นฐานสำคัญของระบบเกษตรอินทรีย์ การปรับปรุงดินและการบริหารจัดการดินและธาตุอาหาร มีเป้าหมายเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ซึ่งรวมถึงการจัดการให้มีธาตุอาหารอย่างเพียงพอกับพืชที่เพาะปลูก และเพิ่มพูนอินทรียวัตถุให้กับดินอย่างต่อเนื่อง โดยการสร้างกลไกของการหมุนเวียนธาตุอาหารในฟาร์ม รวมทั้งการป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และการสูญเสียของธาตุอาหาร ซึ่งการจัดหาแหล่งธาตุอาหารพืชนั้นควรเน้นที่ธาตุอาหารที่ผลิตขึ้นได้ภายในระบบฟาร์ม

5) การป้องกันกำจัดศัตรูพืช

ในระดับฟาร์ม การป้องกันกำจัดศัตรูพืชในระบบเกษตรอินทรีย์จะเน้นที่การเขตกรรม การจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี และวิธีกลเป็นหลัก ทั้งนี้โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อสร้างสมดุลของระบบนิเวศการเกษตร ที่ทำให้พืชที่เพาะปลูกพัฒนาภูมิต้านทานโรคและแมลง และสภาพแวดล้อมของฟาร์มไม่เอื้ออำนวยต่อการระบาดของโรคและแมลง ต่อเมื่อการป้องกันไม่เพียงพอ เกษตรกรจึงอาจใช้ปัจจัยการผลิตสำหรับควบคุมและกำจัดแมลงศัตรูพืช ซึ่งกำหนดอนุญาตไว้ในมาตรฐาน

6) การป้องกันมลพิษ การปนเปื้อน และการปะปน

ในระดับฟาร์ม เกษตรกรผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์จะต้องมีมาตรการในการป้องกันมิให้ดินและผลผลิตเกษตรอินทรีย์ปนเปื้อนจากมลพิษ และสารเคมีสังเคราะห์ทางการเกษตร ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในระบบเกษตรอินทรีย์ ซึ่งรวมถึงโลหะหนัก และมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมและชุมชน รวมทั้งมีมาตรการในการลดการปนเปื้อน

มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แต่ละแห่งจะมีข้อกำหนดเกี่ยวกับการจัดการแนวกันชน (buffer zone) ที่แตกต่างกัน โดยอาจมีการกำหนดทั้งระยะห่างระหว่างแปลงเกษตรอินทรีย์กับแปลงเกษตรเคมี หรือการปลูกพืช หรือการจัดทำสิ่งปลูกสร้าง ที่เป็นแนวป้องกันการปนเปื้อน ในพื้นที่แนวกันชนที่แตกต่างกันได้ โดยทั่วไป จะมีการกำหนดเกณฑ์แนวกันชนขั้นต่ำไว้ในมาตรฐาน ซึ่งหน่วยงานรับรองอาจจะพิจารณาให้เกษตรกรต้องมีการจัดการแนวกันชนเพิ่มเติมจากข้อกำหนดขั้นต่ำ โดยการพิจารณาจากสภาพความเป็นจริงของฟาร์มแต่ละแห่ง

ในขั้นของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรรูป ผู้ผลิต-ผู้ประกอบการจะต้องมีการจัดการผลผลิตเกษตรอินทรีย์ โดยป้องกันมิให้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ปะปนกันกับวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ หรือสัมผัสกับปัจจัยการผลิต หรือสารต้องห้ามต่างๆ ที่กำหนดไว้ในมาตรฐาน เพราะจะทำให้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์นั้นสูญเสียสถานะของการได้รับการรับรองมาตรฐานได้ ยกตัวอย่างเช่น การไม่ใช้กระสอบที่บรรจุปุ๋ยเคมี หรือสารเคมีมาใช้บรรจุผลผลิตเกษตรอินทรีย์ หรือในการจัดเก็บผลผลิตเกษตรอินทรีย์ในโรงเก็บ จะต้องไม่มีการใช้สารกำจัดศัตรูในโรงเก็บ ในขณะที่มีการเก็บผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ขนส่งผลผลิตเกษตรอินทรีย์

ที่จำต้องทำให้สำเร็จให้ได้ เพื่อพี่น้องชาวเกษตรกรและคนไทยทุกคน โดยทั้งหมดนั้นต่างก็สอดคล้องและรับเข้ากับสถานการณ์ในยุคปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งยังเชื่อมโยงกับทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและยุทธศาสตร์ แนวนโยบาย ทิศทางยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์การวิจัยด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญาของประเทศ การปฏิรูประบบวิทยาศาตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานนวัตกรรมของประเทศ ดังเช่นพันธกิจของสวก. ที่จะส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการวิจัยการเกษตร_ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัยการเกษตร สุดท้าย ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาข้อมูลสารสนเทศด้านการวิจัยการเกษตร

โดยจากที่กล่าวมาจะยกตัวอย่างของการวิจัยที่ทางสวก. สามารถให้การสนับสนุนและเป็นเรื่องของนวัตกรรมที่สามารถเรียกว่าเป็น Smart farmer ในยุค 4.0 และเป็นต้นแบบของการผลักดันให้เกษตรก้าวไกลไปได้อย่างยั่งยืนไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ การวิจัยพืชพันธุ์ใหม่_ การนำเทคโนโลยี A.I. () มาประยุกต์ใช้งาน_ การใช้ระบบ IOT (Internet of things)_ การใช้โดรนขับเคลื่อน_ นวัตกรรมการปลุกพืชแบบใหม่_ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ไปสู่อุตสาหกรรมอื่น และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งตัวอย่างที่จะยกมาในบทความนี้ที่เป็นหนึ่งใน Smart Farmer ในยุค 4.0 ที่น่าสนใจ สิ่งนั้นคือ “อุตสาหกรรมการแปรรูป”

อุตสาหกรรมการแปรรูป เป็นสิ่งที่มีมานานและถูกพัฒนา วิจัยและเพิ่มพูนความสามารถมาอยู่ในทุกยุคทุกสมัย และการเกษตรกับการแปรรูปก็เป็นสิ่งที่อยู่คู่กันมาเช่นเดียวกัน โดยในยุค 4.0 นี้ มีความน่าสนใจที่วงการอุตสาหกรรมแปรรูปจะช่วยพาให้เกษตรก้าวไกลไปได้มากกว่าแค่ผลิตผลทางการเกษตรธรรมดา ยกตัวอย่างเช่น “การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม” เพื่อให้การเกษตรเข้าไปอยู่ในชีวิตของคนยุคใหม่ โดยเราอาจจะได้เห็นมาตั้งแต่สมัยรุ่นปู่ รุ่นย่า ผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เรานำสมุนไพรต่าง ๆ มาเป็นเครื่องบำรุงผิวพรรณ ซึ่งในยุคปัจจุบันก็ไม่ต่างกัน อุตสาหกรรมความสวยความงามได้นำผลผลิตทางการเกษตรมาวิจัย พัฒนาและต่อยอด เพื่อตอบโจทย์ Beauty Lifestyle ของคนยุคใหม่ ผ่านเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์ดูแลบำรุงผิว ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด รวมถึงสารสกัดเรื่องกลิ่นที่มาเป็นส่วนประกอบของสุคนธบำบัด (Aromatherapy) นอกจากสารสกัดจากธรรมชาติจะส่งผลดีต่อร่างกายแล้ว ยังส่งผลด้านวิทยาให้ผู้บริโภคสนใจและเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์อีกเช่นกัน ซึ่งปัจจัยที่จะเพิ่มมูลค่าให้การทำธุรกิจด้านนี้ คือการเกาะตามติดความต้องการของตลาดผู้บริโภคและนำมาพัฒนาให้ตอบโจทย์อยู่ตลอดเวลา

หรือจะเป็นเรื่องของ “การแปรรูปผลิตภัณฑืเพื่อผู้สูงอายุ” เพราะประเทศไทยของเราเองกำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบ (Aging Society) อันเนื่องมาจากประชาชนยุค Baby Boom ได้เข้าใกล้สู่ช่วงอายุความสูงวัย คาดการณ์ว่าในปี 2564 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุวัยมากกว่า 60 ปี (เกิน 20% ของจำนวนประชากรทั้งหมดในประเทศ) ดังนั้นสินค้าเพื่อสุขภาพจึงถูกผลิตขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์ในด้านของความใส่ใจในการดูแลสุขภาพของคนในสังคมและผู้สูงอายุ โดยกลุ่มสินค้าที่ได้รับความสนใจนั้น ได้แก่พืชผลเกษตรที่ให้คุณค่าทดแทนแป้งและน้ำตาล อาหารเสริมผลิตจากผลผลิตทางการเกษตร เพื่อช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคของผู้สูงอายุ เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง หรือแม้แต่ภาวะทุพโภชนาการ โดยสิ่งเหล่านี้ได้มีการผลิตออกมาวางจำหน่ายทั่วไปแล้ว ยกตัวอย่าง ธัญพืชอัดแท่ง เครื่องดื่มสมูทตี้สําเร็จรูปที่ให้สารอาหารสมบูรณ์สําหรับผู้สูงอายุ ผักอัดเม็ดเสริมโพรไบโอติกส์ น้ำนมข้าวกล้อง เครื่องปรุงรสอาหารที่เน้นการลดโซเดียม เป็นต้น

สุดท้ายนี้ยังมีการแปรรูปอีกหลากหลายมากมาย และมีอีกหลายหัวข้อที่ทางสวก. พร้อมที่จะให้การสนับสนุน เพราะในปัจจุบันหลากหลายประเทศเริ่มมีการพัฒนา หรือนำหน้าเราไปแล้วในเรื่องของการเกษตร เราจึงต้องรีบนำนวัตกรรมเกษตรและเกษตรกรให้เข้าสู่ยุค Smart Farming เพื่อแก้ปัญหาภาวะสังคมเมืองและประชากรโลกที่ขยายตัว ณ จุดนี้ ประเทศไทยเองก็มีหน่วยงานที่คอยพัฒนาและสนับสนุน อย่าง สวก. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) คอยช่วยให้อุตสาหกรรมเกษตร และบุคคลากรทางการเกษตรของประเทศไทยพัฒนาเพื่อผลักดันให้การเกษตรก้าวไกล และไม่แพ้การเกษตรของชาติใดบนโลก

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3419
แคลเซียม ช่วยเพิ่มผลผลิตและ ปรับปรุงดิน ได้อย่างไร
แคลเซียม ช่วยเพิ่มผลผลิตและ ปรับปรุงดิน ได้อย่างไร
สำหรับเกษตรกรมือใหม่ หรือผู้ที่เริ่มต้นปลูกพืชอาจจะไม่ทราบว่า พืชที่จะเจริญเติบโตได้ดี ออกผลผลิตได้มากและมีน้ำหนักดี จำเป็นจะต้องพึ่งพาสิ่งที่เรียกว่า ธาตุอาหารในการเจริญเติบโต ซึ่งธาตุอาหารเหล่านี้หากพืชได้ไม่ครบก็อาจจะแสดงอาการผิดปกติบางประการออกมา หรืออาจจะถึงขั้นไม่สามารถดำรงชีพได้ครบวงจร ไม่สามารถดำรงเผ่าพันธุ์ต่อไปและแน่นอนว่าอาจตายลงในที่สุด

ยกตัวอย่างธาตุอาหารจำเป็นสำหรับพืช เช่น

ไนโตรเจน (N) ช่วยให้พืชมีสีเขียว ส่งเสริมการเจริญเติบโตของใบ และลำต้น ทำให้ลำต้น และใบมีสีเขียวเข้ม ควบคุมการออกดอก และติดผลของพืช อีกทั้งเพิ่มปริมาณโปรตีนให้แก่พืช

ฟอสฟอรัส (P) ส่งเสริมการออกดอกและผล ติดเมล็ด การพัฒนาเมล็ดและผล เร่งการเจริญเติบโตของราก พร้อมช่วยเพิ่มความต้านทานต่อโรคพืช และมีส่วนช่วยในการเร่งการสุกแก่ของผลให้เร็วขึ้น

โพแทสเซียม (K) ช่วยพืชสร้างอาหาร (สังเคราะห์แสง) และมีส่วนช่วยทำให้รากแข็งแรง ทำให้รากดูดน้ำ และธาตุอาหารได้ดีขึ้น ทนทานต่อโรคแมลง อีกทั้งเพิ่มขนาดผลผลิต เมล็ด และช่วยเพิ่มคุณภาพของพืช ผัก และผลไม้ ทำให้พืชมีสีสัน เพิ่มขนาด และเพิ่มความหวาน

ซึ่งธาตุทั้งสามนี้ นับเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการเป็นจำนวนมาก แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะต้องการเพียงแค่นี้ ยังมีธาตุอาหารรองอีกหลายชนิดที่พืชเองก็ต้องการด้วยเช่นเดียวกัน โดยเราจะขอยกตัวอย่างหนึ่งในธาตุอาหารรองที่แสนจะสำคัญสำหรับพืช เพราะมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ของพืช บริเวณเนื้อเยื่อเจริญทั้งที่ปลายยอด ปลายราก ใบอ่อน การแตกตาอ่อนของกิ่ง ของตาดอก และการเจริญของดอกและผลเป็นสำคัญ นั่นก็คือ ธาตุแคลเซียม นั่นเอง

ทำความรู้จัก “ธาตุแคลเซียมช่วยเพิ่มผลผลิต”

ธาตุแคลเซียม มีความสำคัญในการเป็นธาตุอาหารรองสำหรับพืช โดยจัดเป็นส่วนประกอบของสารที่เชื่อมเซลล์สองเซลล์ให้ติดกัน เรียกว่า แคลเซียมเพคเตต ช่วยคงสภาพโครงสร้างของเซลล์พืชให้ทำงานปกติ ช่วยการดูดซึมธาตุโพแทสเซียม ช่วยลดพิษของธาตุแมกนีเซียม ทำให้พืชดูดซึมธาตุแมกนีเซียมมากขึ้น และนำธาตุแมกนีเซียมไปสร้างคลอโรฟิลล์ แคลเซียมจึงเป็นธาตุอาหารที่มีความสำคัญในด้านที่ช่วยให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ

หน้าที่สำคัญของธาตุแคลเซียมในพืช

มีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวกับโครงสร้างของผลไม้ คือ ช่วยเสริมสร้างเซลล์ และการแบ่งเซลล์ของพืช ซึ่งพืชต้องการอย่างต่อเนื่อง

ช่วยในการสร้างเซลล์และโครงสร้างของเซลล์ของพืช ช่วยให้เซลล์ติดต่อกัน และจะช่วยเชื่อมผนังเซลล์ให้เป็นรูปร่าง และขนาดให้เป็นไปตามลักษณะของพืชแต่ละชนิด ทำให้พืชแข็งแรง

ช่วยเพิ่มการติดผล

ช่วยให้สีเนื้อและสีผิวของผลสดใส

ช่วยลดการเกิดเนื้อของผลแข็งกระด้าง และเนื้อแฉะ

ช่วยป้องกันผลร่วง ผลแตก

มีบทบาทที่สำคัญในระยะการเจริญเติบโตและการออกดอกของพืช

มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการย่อยธาตุไนโตรเจน และช่วยให้พืชดูดไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เป็นตัวช่วยลดการหายในของพืช ทำให้พืชเหี่ยวช้า

เป็นตัวช่วยเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ทำให้ผักผลไม้มีรสชาติดี

ควบคุมการดูดน้ำเข้าไปในเซลล์พืช และป้องกันผลแตก

ทนทานต่อการเข้าทำลายของโรคและแมลง ไม่เน่าง่าย

วิธีการเติมแคลเซียมเพิ่มผลผลิตให้กับพืช

ปกติแล้วแคลเซียมนั้นเป็นธาตุที่ไม่เคลื่อนย้ายในพืช ดังนั้น การเพิ่มปริมาณแคลเซียมในดินเพื่อเพิ่มปริมาณแคลเซียมในผลไม้มักไม่ค่อยได้ผลดี การให้แคลเซียมที่ใบหรือผลโดยตรงดูจะเป็นวิธีการเพิ่มปริมาณแคลเซียมในผลที่ได้ผลที่สุด ซึ่งวิธีการเติมแคลเซียมเพิ่มผลผลิตให้กับพืชจะให้แคลเซียมช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวโดยการฉีดพ่นที่ผลบนต้น โดยสามารถใช้ผสมรวมไปกับสารเคมีฆ่าแมลงและฉีดพ่นต้นตามปกติได้เลย หรือการให้แคลเซียมกับผลหลังการเก็บเกี่ยวโดยการจุ่มผล หรือแช่ผลในระบบสุญญากาศหรือให้ความดันพาสารละลายแคลเซียมเข้าไปในผล

แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ควรคำนึงถึงปริมาณของแคลเซียมที่เหมาะสมเอาไว้ด้วย เพราะเกลือแคลเซียมบางชนิดอาจละลายน้ำได้ไม่ดี ถ้าหากความเข้มข้นของแคลเซียมไม่เหมาะสมอาจทำให้มีปริมาณแคลเซียมในผลไม่มากพอ หรือในทางตรงกันข้ามหากผลไม้ได้รับแคลเซียมมากเกินไปอาจทำให้ผลไม้เกิดความผิดปกติได้ ดังนั้น จึงควรนำแคลเซียมมาใส่ในน้ำส้มสายชูกลั่น (5%) 2 มิลลิลิตร ต่อสารละลาย 5 ลิตร เพื่อช่วยในการละลาย นอกจากนี้เกลือแคลเซียมในรูปต่างๆ อาจไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้ และบางชนิดอาจก่อให้เกิดอาการผิดปกติกับผลไม้ได้ จึงควรระมัดระวังในการใช้งาน

สรุป

จะเห็นได้ว่า พืชที่ได้รับแคลเซียมเพียงพอ โดยเฉพาะในส่วนของผลผลิต จะทำให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ มีอายุการเก็บรักษาได้นาน เป็นที่ต้องการของตลาด ในส่วนของการเพิ่มแคลเซียมให้พืชอย่างมีประสิทธิภาพนั้น นอกจากคำนึงถึงสภาพแวดล้อมดิน ที่มีความสมดุลของธาตุที่เมื่อเสริมธาตุแล้วจะทำให้พืชดูดซึมได้ดีแล้ว ควรคำนึงถึงวิธีการให้ธาตุอาหารด้วยการฉีดพ่นทางใบ หรือผลที่ทำให้พืชดูดซึมธาตุอาหารไปใช้ได้อย่างทันท่วงทีร่วมด้วย

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3408
ปุ๋ยสำหรับผักต่างๆ ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นผัก เร่งโต โตไว แข็งแรง ผลผลิตดี คุณภาพดี FK-1 มี N,P,K,Mg,Zn



ปุ๋ยน้ำ สำหรับบำรุงผัก เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต ด้วย FK-1 ที่ประกอบด้วยธาตุอาหาร N - ไนโตรเจน ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต สังเคราะห์แสงได้ดี เขียว แข็งแรง มีธาตุ P - ฟอสฟอรัส ระบบรากแข็งแรง ช่วยให้แตกรากดี ช่วยการติดการติดดอก ออกผลผล และ ธาตุ K - โพแตสเซียม ส่งเสริมกระบวนการสะสมอาหาร ทำให้ มีความสมบูรณ์ ผลลผลิตสูงขึ้น นอกจากนั้นแล้ว ยังประกอบด้วย Mg - แมกนีเซียม ที่ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน วิตามิน ไขมัน และน้ำตาล เพื่อเป็นอาหารและพลังงาน มี ธาตุ Zn - สังกะสี ควบคุมการเจริญเติบโต สังเคราะห์ฮอร์โมนออกซิน คลอโรฟิลล์และแป้ง ควบคุมการย่อยน้ำตาลของพืช จึงทำให้ เจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์ แข็งแรง และให้ผลผลิตดี

http://www.farmkaset..link..

มีสารจับใบในตัว ลดแรงตรึงผิว ทำให้ FK-1 สามารถเกาะใบ และดูดซึมได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

อัตราส่วนการผสม
- แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง
- ตักถุงแรก 1-2 ช้อนโต๊ะ ถุงที่สอง 1-2 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20 ลิตร
- คนให้แตกตัวละลายเข้ากับน้ำ
- ฉีดพ่นทางใบพืช

ราคา 890บาท ต่อกล่อง
ในหนึ่งกล่อง ประกอบด้วย
บัวแก้ว บรรจุ 1กิโลกรัม 1ถุง ทะเบียน เลขที่ 1641/2563 (กรมวิชาการเกษตร)
เอฟ-วัน บรรจุ 1กิโลกรัม 1ถุง ใบรับแจ้ง เลขที่ รส. 1727/2563 (กรมวิชาการเกษตร)
ผสมใช้พร้อมกัน

พืชจะถูกจำกัดการเจริญเติบโต ด้วยธาตุอาหารที่ได้รับต่ำสุด (Liebig s law of the minimum) FK-1 ให้ธาตุอาหารที่จำเป็นครบถ้วน แก้ปัญหาพืชโตช้า ส่งเสริมให้ผลผลิตสูง มีคุณภาพ

ปุ๋ย FK-1 เร่งโต สำหรับพืชต่างๆ ประกอบด้วย ธาตุหลัก สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ สารจับใบ ไนโตรเจน [N] ฟอสฟอรัส [P] โพแทสเซียม [K] แมกนีเซียม [Mg] สังกะสี [Zn]

การสั่งซื้อ ส่งฟรีถึงบ้าน เก็บเงินปลายทาง

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

FK-1 จาก ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

FK-1 จาก ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3406
ไบโอเทคพัฒนาวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ อินทผลัม
นักวิจัย ไบโอเทค-สวทช. ใช้ไบโอรีแอคเตอร์เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้นอินทผลัมพันธุ์บาฮีเชิงการค้าสำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทย แก้ปัญหาเกษตรกรเสี่ยงปลูกอินทผลัมเพาะเมล็ดแล้วไม่ได้คุณภาพของผลผลิตตามต้องการ ช่วยลดการนำเข้าต้นกล้าอินทผลัมเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากต่างประเทศ ตั้งเป้าขยายผลเทคโนโลยีสู่เชิงพาณิชย์ หวังช่วยผู้ประกอบการสร้างรายได้และกระจายโอกาสให้เกษตรกรรายย่อยเข้าถึง

“อินทผลัม” เป็นผลไม้โบราณรสหอมหวานฉ่ำจากดินแดนตะวันออกกลางที่มีสรรพคุณมากมายและได้รับความนิยมอย่างสูงจากผู้บริโภคในปัจจุบัน โดยเฉพาะพันธุ์บาฮี พันธุ์รับประทานผลสดและเป็นพันธุ์การค้ายอดนิยม ให้ผลผลิตสูง สามารถปลูกได้ดีในประเทศไทย ผลผลิตเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ ส่งผลให้อินทผลัมขึ้นแท่นเป็นพืชเศรษฐกิจตัวใหม่มาแรงที่สร้างรายได้ให้เกษตรกรไทยเป็นกอบเป็นกำ ทั้งการปลูกเพื่อจำหน่ายผลผลิตและการจำหน่ายต้นกล้าอินทผลัมนำเข้าจากต่างประเทศ

เพื่อส่งเสริมการผลิตอินทผลัมให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาดและกระจายโอกาสให้เกษตรกรรายย่อยสามารถเข้าถึงพืชเศรษฐกิจชนิดนี้ได้ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับคุณประพัฒน์ วนาพิทักษ์ ประธานบริษัท พี โซลูชัน จำกัด จึงได้พัฒนาเทคนิคการขยายพันธุ์อินทผลัมพันธุ์บาฮีในเชิงการค้า โดยใช้เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อร่วมกับระบบไบโอรีแอคเตอร์ (Bioreactor) ทำให้สามารถขยายต้นกล้าอินทผลัมพันธุ์บาฮีในห้องปฏิบัติการในระดับเชิงพาณิชย์ได้เป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยได้รับการสนับสนุนจากโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) สวทช. ด้วย

ดร.ยี่โถ ทัพภะทัต นักวิจัยไบโอเทค สวทช. เปิดเผยว่าอินทผลัมเป็นพืชแยกต้นเพศผู้และเพศเมีย เกษตรกรจะปลูกให้ได้ผลผลิตจะต้องปลูกต้นเพศเมียเท่านั้น แต่การเพาะเมล็ดอินทผลัมนั้นนอกจากมีความเสี่ยงที่จะเกิดการกลายพันธุ์แล้ว ยังมีความเสี่ยงสูงที่จะได้ต้นเพศผู้มากกว่าต้นเพศเมีย และจะทราบก็ต่อเมื่อปลูกไปแล้ว 2-3 ปี จนกระทั่งพืชออกดอก ถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะสามารถส่งตรวจทดสอบเพศของต้นอินทผลัมได้แล้ว แต่ก็ไม่การันตีถึงคุณภาพของผลผลิตที่ได้รับ ทำให้เกษตรกรเสียเวลาและเกิดความเสียหายอย่างมาก เกษตรกรรายใหญ่จึงมักเลือกซื้อต้นกล้าอินทผลัมที่เกิดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากต่างประเทศมาปลูก ซึ่งมีราคาสูงแต่รับประกันได้ว่าเป็นต้นเพศเมียและให้ผลผลิตแน่นอน

“อินทผลัมเป็นพืชตระกูลปาล์ม ซึ่งการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชตระกูลปาล์มนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะเป็นพืชที่โตช้า ดังนั้นการพัฒนาเนื้อเยื่อในห้องปฏิบัติการจึงช้าไปด้วย ปัจจุบันยังไม่มีห้องปฏิบัติการแห่งไหนในประเทศสามารถผลิตต้นอินทผลัมพันธุ์บาฮีเพศเมียจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อระดับเซลล์ได้ ทางทีมวิจัยก็ได้รับโจทย์นี้มาจากผู้ประกอบการและเกษตรกรที่สนใจการขยายพันธุ์อินทผลัมพันธุ์บาฮีด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จึงได้เริ่มทำวิจัยโดยคัดเลือกต้นอินทผลัมเพศเมียสายพันธุ์บาฮีที่มีลักษณะดีเพื่อใช้เป็นต้นแม่ แล้วนำเนื้อเยื่อเจริญส่วนยอดและใบอ่อนของต้นแม่มาเพาะเลี้ยงด้วยอาหารสังเคราะห์ในห้องปฏิบัติการเป็นเวลากว่า 1-2 ปี จนสามารถชักนำให้เกิดการพัฒนาเป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่าแคลลัส และแคลลัสสามารถเจริญไปเป็นยอดอ่อนได้”

“ที่ผ่านมาทำวิจัยในปาล์มน้ำมัน พบว่ากว่าจะเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อปาล์มน้ำมันให้เกิดเป็นต้นอ่อนขึ้นในขวดแก้วได้ ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 3 ปี แต่ในอินทผลัมเราสามารถทำได้เร็วกว่าปาล์มน้ำมัน โดยใช้เวลาประมาณ 1-2 ปี ก็เริ่มเห็นเป็นยอดอ่อนสีเขียวเกิดขึ้นบนแคลลัสแล้ว ยอดอ่อนสีเขียวที่เห็นนี้ถือว่าสำเร็จไปแล้ว 80% และจากประสบการณ์ของทีมวิจัย เราเห็นแนวโน้มว่าจะพัฒนาไปเป็นต้นและขยายได้ไม่ต่ำกว่า 1_000 ต้นในปีหน้า ซึ่งเราใช้ระบบไบโอรีแอคเตอร์เข้ามาช่วยเร่งการเจริญเติบโต และคาดว่าน่าจะใช้เวลาอีกประมาณ 6 เดือน อินทผลัมบาฮีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของเราจะเจริญเป็นต้นที่สมบูรณ์ พร้อมนำลงปลูกในดิน”

สำหรับไบโอรีแอคเตอร์เป็นระบบการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อด้วยอาหารเหลวแบบกึ่งจมที่ทีมวิจัยพัฒนาขึ้น ซึ่งช่วยลดปัญหาของการเพาะเลี้ยงด้วยอาหารแข็ง และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการเจริญและพัฒนาเนื้อเยื่อไปเป็นต้นอ่อน ทำให้สามารถขยายพันธุ์ได้รวดเร็วกว่าวิธีการใช้อาหารแข็งปกติประมาณ 3-4 เท่า ทั้งยังช่วยลดต้นทุนและประหยัดแรงงานในการดูแลย้ายอาหารของต้นอ่อนในห้องปฏิบัติการ

“อินทผลัมเป็นพืชมูลค่าสูง ผลสดเป็นที่ต้องการสูงในตลาด มีราคาจำหน่ายกิโลกรัมละ 500-800 บาท ทั้งบริโภคในประเทศและส่งออก โดยเฉพาะประเทศแถบตะวันออกกลาง ในขณะที่ต้นกล้าอินทผลัมเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่นำเข้าจากต่างประเทศมีราคาสูงถึงต้นละ 1_500-2_000 บาท ส่วนใหญ่นำเข้าจากอิรัก อียิปต์ รวมถึงอังกฤษ จึงมีแต่เกษตรกรหรือผู้ประกอบการรายใหญ่เท่านั้นที่ลงทุนปลูกได้ แต่หากเราสามารถผลิตต้นกล้าอินทผลัมเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้เองในประเทศและทำให้มีราคาถูกกว่าของต่างประเทศ จะช่วยลดต้นทุนให้ผู้ประกอบการได้มาก ส่วนเกษตรกรรายย่อยก็มีโอกาสปลูกได้มากขึ้นด้วย หรือปลูกเสริมจากการทำไร่ทำนาเพียงไม่กี่ต้น ก็จะช่วยให้เขามีรายได้เพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่ง”

ทั้งนี้ นักวิจัยตั้งเป้าว่าในอนาคตจะมีการต่อยอดและขยายผลเทคโนโลยีนี้ไปสู่เกษตรกร โดยอาจเป็นในรูปแบบการร่วมลงทุนเพื่อจัดตั้งห้องปฏิบัติการสำหรับผลิตต้นกล้าอินทผลัมโดยเฉพาะ หรือถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการที่สนใจลงทุนด้านห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อผลิตต้นกล้าอินทผลัมในเชิงพาณิชย์ รวมถึงได้ศึกษาวิจัยการขยายพันธุ์พืชเศรษฐกิจอื่นๆ ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในระบบไบโอรีแอคเตอร์ อาทิ มะพร้าว ปาล์มน้ำมัน พืชสมุนไพร และไม้ดอกไม้ประดับที่มีมูลค่าสูงในตลาดปัจจุบัน

งานวิจัยนี้จึงเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการนำเทคโนโลยีขั้นสูงเข้ามาช่วยแก้ปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจในประเทศไทย ที่ช่วยเกษตรกรลดต้นทุน เพิ่มรายได้ และกระจายโอกาสให้ทั่วถึง สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาโมเดลเศรษฐกิจ BCG (BCG economy model) ที่เป็นวาระของชาติในขณะนี้

อ้างอิง: http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3415
ปุ๋ยสำหรับนาข้าว ปุ๋ยเร่งโตแตกกอ ปุ๋ยรับรวงข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ตรา FK
ปุ๋ยสำหรับนาข้าว ปุ๋ยเร่งโตแตกกอ ปุ๋ยรับรวงข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ตรา FK
ปุ๋ยน้ำสำหรับข้าว ฉีดพ่นทางใบ เร่งโตแตกกอ สามารถเพิ่มผลผลิตข้าว และเพิ่มคุณภาพของผลผลิตได้เป็นอย่างดี

ฉีดพ่น FK-1 ให้กับข้าวในระยะงอก เพื่อเร่งการเจริญเติบโต เร่งการแตกกอ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ให้กับต้นข้าว

ฉีดพ่น FK-3R ในระยะออกรวง ออกแบบมาสำหรับเพิ่มผลผลิตข้าวโดยเฉพาะ ข้าวรวงยาว เมล็ดเต็ม ผลผลิตดี

ปุ๋ย FK ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตพืช

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
โรคราสนิมกาแฟ Coffee Leaf Rust
โรคราสนิมกาแฟ Coffee Leaf Rust
โรคราสนิมกาแฟ เกิดจากเชื้อรา Helmileia Vatatrix พบทั้งในระยะที่เป็นต้นกล้าและต้นโตในแปลง ลักษณะอาการครั้งแรกจะเห็นเป็นจุดสีเหลืองบริเวณด้านในของใบและเกิดกับใบแก่ก่อน จุดสีเหลืองบนใบจะขยายโตขึ้นเรื่อย ๆ สีของแผลจะเปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีส้มหรือสีส้ม ใบร่วง และกิ่งแห้งในเวลาต่อมา ต้นที่เป็นโรครุนแรงใบจะร่วงเกือบหมดต้น

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FK-1 ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม สำหรับฉีดพ่นทางใบ เพื่อเร่งการเจริญเติบโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง จึงต้านทานต่อโรคได้ดีขึ้น

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
ความหมายของสูตรปุ๋ย ปุ๋ยสูตร 15-15-15 หรือ 0-0-60 หรือ 18-46-0 หรือ 46-0-0 หรือ x-x-x ... หมายความว่าอะไร
ความหมายของสูตรปุ๋ย ปุ๋ยสูตร 15-15-15 หรือ 0-0-60 หรือ 18-46-0 หรือ 46-0-0 หรือ x-x-x ... หมายความว่าอะไร
เพื่อนๆเคยสงสัยกันไหมว่า เวลาเราไปซื้อปุ๋ย เพื่อใส่กับพืชที่เราปลูก เช่น ไปซื้อปุ๋ย แล้วได้สูตร 16-16-16 หรือสูตรอื่นๆมานั้น ตัวเลข 3 หลังนั้น หมายความว่าอย่างไร

จริงๆแล้ว ตัวเลข 3 หลักนั้น หมายถึง ธาตุอาหารพืช ถูกวางเรียงกันดังนี้
ไนโตรเจน(N)-ฟอสฟอรัส(P)-โพแตสเซียม(K) เช่น 15-15-15 แปลว่า ปุ๋ยสูตรนี้ ประกอบไปด้วย ไนโตรเจน15เปอร์เซนต์ - ฟอสฟอรัส15เปอร์เซนต์ - โพแตสเซียม15เปอร์เซนต์

ทำไม.. ปุ๋ยส่วนมาก เน้นแต่ 3 ธาตุอาหาร N-P-K ล่ะ

ตอบว่า มหาสารอาหาร (macronutrients) คือกลุ่ม ธาตุอาหารพืช ที่จำเป็นต่อพืชมากที่สุด มีอยู่ 9 ธาตุ
1.คาร์บอน 2.ไฮโดรเจน 3.ออกซิเจน
4.ไนโตรเจน 5.ฟอสฟอรัส 6.โพแทสเซียม
7.กำมะถัน 8.แคลเซียม 9.แมกนีเซียม

แล้วทำไม.. ให้แค่ 3 ตัวล่ะ มีทั้งหมด 9 ธาตุ
คาร์บอน พืชได้รับจากขบวนการสังเคราะห์แสง โดยรับคาร์บอนไดออกไซด์มาจากอากาศ
ไฮโดรเจน พืชได้รับไฮโดรเจนส่วนใหญ่จากน้ำ
ออกซิเจน พืชได้รับออกซิเจน จากกระบวนการสังเคราะห์แสง

ตัดออกไป 3 เหลืออีก 6 ธาตุ
macronutrients แบ่งเป็น สองกลุ่ม
1.ธาตุอาหารหลัก (primary macronutrients) ได้แก่ ไนโตรเจน (N)_ ฟอสฟอรัส (P)_ และ โพแทสเซียม (K)
2.ธาตุอาหารรอง (secondary macronutrients) ได้แก่ แคลเซียม (Ca)_แมกนีเซียม (Mg)_ และ ซัลเฟอร์(กำมะถัน) (S)

จะเห็นได้แล้วว่า N_ P_ K หรือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแตสเซียมนั้น จัดเป็น ธาตุอาหารหลัก
คำว่า หลัก ก็คือสำคัญที่สุดพืชต้องการเยอะ ก็เลยต้องเติม 3 ธาตุนี้ มากที่สุด ปุ๋ยสูตร จึงเน้น 3 ธาตุนี้เป็นหลัก หากพืชที่ปลูกพืช ไม่โดนปลูกซ้ำแล้วซ้ำเล่าหลายสิบปี และสภาพดินไม่แย่ ก็อาจจะไม่ขาด ธาตุอาหารอื่นๆ เลยเติมเฉพาะ 3 ธาตุหลักนี้

แต่ปัจจุบัน การปลูกพืชเมืองไทย ทำเกษตรมานานซ้ำที่เดิมมาหลายสิบปี และไม่ค่อยได้เติมอินทรียวัตถุ จึงอาจจะเกิดอาการขาดธาตุรอง แคลเซียม แมกนีเซียม และกำมะถันด้วย หลายๆแปลงเกษตร จึงจำเป็นต้องใช้พวก สารปรับสภาพดิน และปุ๋ยธาตุเสริมต่างๆ

เราควรซื้อ ปุ๋ยสูตรอะไรดี?

ในบทความนี้ ขอตอบแบบง่ายๆ จำได้ง่ายๆเลย ให้จำดังนี้
N-P-K
คือ ไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส-โพแตสเซียม
คือ ต้น-ดอกและระบบราก-ผลผลิต
อยากเร่งต้น เร่งโต เร่งใบ ใช้ปุ๋ยสูตรเลขตัวหน้า หรือ N สูง กว่า ตัวกลาง และ ตัวหลัง
อยากเร่งดอก เร่งราก ใช้ปุ๋ยเลขตัวกลาง หรือ P สูงกว่า ตัวหน้า และ ตัวหลัง
อย่างเร่งผลผลิต ผลโต เพิ่มความหวาน เร่งน้ำยาง ใช้ปุ๋ยเลขตัวหลัง หรือ K สูงกว่า ตัวหน้า และ ตัวกลาง

เช่น
46-0-0 แม่ปุ๋ยเร่งต้น
18-46-0 แม่ปุ๋ยเร่งดอกเร่งราก
0-0-60 แม่ปุ๋ยเร่งผลผลิต
เป็นต้น

สินค้าจากเรา ปุ๋ยน้ำ FK-1 ที่ประกอบด้วย ปุ๋ยสูตร 20-20-20 บวกด้วย แคลเซียม แมกนีเซียม และ สังกะสี ใช้ เร่งการเจริญเติบโต แตกยอด ผลิใบ สร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง พืชจึงต้านทานต่อโรคได้ดีขึ้น

เขียนโดย FarmKaset.ORG อ้างอิง WiKi Pedia
436 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 43 หน้า, หน้าที่ 44 มี 6 รายการ
|-Page 35 of 44-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - ฟื้นฟูระบบรากและสร้างดินอุดม สำหรับต้นดอกลีลาวดี
Update: 2567/02/13 09:32:54 - Views: 3468
พืชใบเหลือง โตช้า ต้นโทรม ผลผลิตต่ำ ลอง ปุ๋ยทางใบ FK-1
Update: 2567/06/11 11:46:04 - Views: 318
การป้องกันและจัดการโรคผลเน่าในทุเรียน: วิธีการปรับปรุงดูแลและลดความเสี่ยง
Update: 2566/11/11 09:22:37 - Views: 3425
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: ปุ๋ยที่ครอบคลุมทุกช่วงอายุของถั่วเหลือง
Update: 2567/02/12 14:44:54 - Views: 3414
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นละมุดอย่างได้ผล
Update: 2566/05/09 11:59:36 - Views: 3429
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: เพิ่มประสิทธิภาพในทุกช่วงอายุของต้นพุทรา
Update: 2567/02/12 14:55:27 - Views: 3424
แตงโม ผลใหญ่ ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
Update: 2567/04/22 11:37:29 - Views: 3565
การป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราอย่างได้ผล: โรคราสนิมในผักบุ้ง
Update: 2566/05/17 09:40:22 - Views: 3430
ทุเรียนใบไหม้ มีสาเหตุมาจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส ราฝ่อ หยุดลุกลาม
Update: 2563/10/28 14:21:37 - Views: 3753
การจัดการเพลี้ยในต้นถั่วพู: วิธีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและลดความเสียหาย
Update: 2566/11/20 12:54:43 - Views: 3605
มนุษย์รู้ว่าโลกกลม เมื่อปีใด?
Update: 2567/01/01 14:00:54 - Views: 3443
อินทผาลัม อินทผลัม ใบเหลือง ใบจุด ใบไหม้ โรคราเขม่า เชื้อราเขม่าผง รากเน่า โรคราสนิม ใบแห้ง ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/07 01:23:21 - Views: 3569
เตือน!! ระวังหนอนระบาด หนอนมะม่วง หนอนเจาะผล ทำลาย ต้นมะม่วง ของคุณ ...สร้างเสียหายได้มาก
Update: 2566/11/02 10:47:31 - Views: 3453
ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากเชื้อราในบล็อคโคลี่: การรับรู้และการจัดการเพื่อผลผลิตที่สุขภาพดี
Update: 2566/11/15 12:54:47 - Views: 3431
ปุ๋ยสำหรับแครอท
Update: 2564/05/08 09:26:27 - Views: 3755
โรคราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ เกิดได้กับหลายพืช เร่งควบคุม ป้องกัน กำจัด ลดความเสียหายต่อพืช
Update: 2566/11/04 09:41:04 - Views: 9223
โรคไหม้ข้าว โรคข้าวใบไหม้
Update: 2564/08/09 10:20:20 - Views: 3736
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: ช่วยให้ต้นฝรั่งของคุณเติบโตอย่างสมบูรณ์ในทุกช่วงอายุ
Update: 2567/02/12 15:00:00 - Views: 3439
ยอดพุ่งต่อเนื่อง ไทยส่งออกสินค้าปศุสัตว์
Update: 2565/11/17 12:36:05 - Views: 3392
คู่มือเบื้องต้นสำหรับการ ป้องกันและกำจัดโรคในสวนยางพารา ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
Update: 2566/04/29 14:56:01 - Views: 8250
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022