[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ทุเรียน
425 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 42 หน้า, หน้าที่ 43 มี 5 รายการ

การรดน้ำให้ต้นไม้ พืชที่เราปลูก ต้องรดน้ำมากน้อยเท่าไร จึงจะเหมาะสม
การรดน้ำให้ต้นไม้ พืชที่เราปลูก ต้องรดน้ำมากน้อยเท่าไร จึงจะเหมาะสม
การปลูกพืชให้ได้ผลดีเรามักพูดกันติดปากว่า ดินดี น้ำดี แต่คำว่าน้ำดีนั้นแค่ไหนถึงเรียกว่าน้ำดี ถ้าเราขุดบ่อมีแหล่งน้ำดีแล้วจะต้องดูดขึ้นไปรดน้ำให้พืชมากแค่ไหนพืชถึงจะพอ

ปลูกพืชต้องรดน้ำเท่าไหร่จึงจะพอ

น้ำ เป็นปัจจัยสำคัญสำหรับพืช ทำให้พืชเจริญเติบโต ให้ผลผลิต ดินมีปุ๋ยแต่ไม่มีน้ำพืชก็อยู่ไม่ได้ การเพาะปลูกพืชจึงต้องมีน้ำเพียงพอเหมาะสมกับพืชชนิดนั้นๆ

มาดูกันก่อนว่าน้ำสำคัญกับพืชยังไง

1. น้ำทำให้ดินนุ่ม รากพืชชอนไชไปหาธาตุอาหารได้

2. น้ำช่วยละลายธาตุอาหารเป็นสารละลายให้พืชดูดไปใช้ได้

3. พืชออสโมซีส คือ ดูดน้ำจากในดินผ่านทางราก เข้าสู่ท่อน้ำ แล้วไปคายทิ้งที่ปากใบ กระบวนการดูดน้ำนี้ทำให้มีธาตุอาหารที่เป็นสารละลายติดขึ้นมาเป็นอาหารด้วย

การรดน้ำ จึงขอแค่เพียงให้ดินชื้นพอให้พืชออสโมซีสได้

วิธีการหาปริมาณความต้องการน้ำของพืชตามหลักวิชาการมีมากมายหลายทฤษฎี แต่คำนวณยุ่งยากมาก ปล่อยให้เป็นเรื่องของนักวิชาการและกรมชลประทานเขาใช้คำนวณเพื่อออกแบบระบบชลประทานกันไป สำหรับเกษตรกรเราสามารถคำนวณหาปริมาณการรดน้ำให้พืชได้ง่ายกว่านั้น

ก่อนอื่นเราต้องรู้ก่อนว่าน้ำหรือความชื้นในดินสูญเสียหรือสูญหายได้ 3 กรณี คือ

1. ซึมหายลงไปในดิน

2. ระเหยหายไปในอากาศ

3. ถูกพืชดูดขึ้นไปคายทิ้งทางใบ

ปริมาณน้ำที่ซึมหายไปในดินเราไม่ต้องสนใจ เพราะน้ำส่วนมากจะซึมหายไปได้เมื่อมีน้ำในดินมากๆ เช่น ตอนฝนตก หรือมีน้ำท่วม แต่เมื่อน้ำในดินเหลือน้อยเพียงแค่ดินชื้นๆ น้ำจะถูกมวลดินซึมซาบไว้ไม่ปล่อยให้ไหลซึมลึกลงไปง่ายๆ แต่จะหายไปเพราะการระเหยและถูกพืชดูดไปใช้มากกว่า

ดังนั้น น้ำในดินจึงถูกแย่งกันระหว่างการระเหยกับถูกพืชดูดไปใช้

หลักการรดน้ำง่ายๆ จึงขอแค่ให้รดน้ำในปริมาณไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับอัตราการระเหยก็พอ ซึ่งเท่ากับยังมีความชื้นในดินให้แข่งกันระหว่างการระเหยกับพืชดูดมาใช้

อัตราการระเหยของน้ำแต่ละพื้นที่แต่ละเดือนไม่เท่ากัน ดูข้อมูลได้จากสถิติของกรมอุตุนิยมวิทยา และการนำมาใช้งานต้องปรับใช้ให้เหมาะสมด้วย เช่น ถ้าเอามาใช้กับสวนยาง สวนปาล์ม หรือสวนผลไม้ที่พุ่มโตแล้ว ใต้ต้นมีร่มเงามาก อัตราการระเหยจริงก็จะต่ำกว่าข้อมูลที่ดูจากสถิติ

ตัวอย่างการคำนวณ เช่น

จังหวัดนครราชสีมาในช่วงเดือนเมษายนมีอากาศค่อนข้างร้อน มีสถิติย้อนหลังบอกว่าเดือนนี้มีอัตราการระเหยของน้ำอยู่ที่ 5.11 มม.ต่อวัน และเกือบจะไม่มีในตกเลย การปลูกพืชจึงต้องรดน้ำอย่างเดียวหวังพึ่งน้ำฝนไม่ได้

คำนวณอัตราการสูญเสียน้ำจากการระเหยได้เท่ากับ 0.511 x 100 x 100 / 1_000 = 5.11 ลิตรต่อตารางเมตรต่อวัน

ถ้าเราปลูกทุเรียน และทุเรียนของเรามีรัศมีพุ่มใบ 1 เมตร ให้เรานึกภาพว่าตอนนี้ทุเรียนของเราจะมีรากอยู่ในรัศมี 1 เมตรนั่นแหล่ะ เวลาเรารดน้ำก็รดน้ำในรัศมีนี้เพื่อชดเชยน้ำที่ระเหยหายไปในอากาศ ส่วนที่อยู่นอกรัศมีพุ่มใบถ้าดินแห้งก็ปล่อยให้แห้งไป

พื้นที่รัศมี 1 เมตร มีพื้นที่ = 22/7 x 1^2 = 3.14 ตารางเมตร

การระเหยของน้ำในพื้นที่รดน้ำ = 5.11 x 3.14 = 16 ลิตรต่อวัน

ดังนั้น จึงต้องรดน้ำทุเรียนต้นนี้ 16 ลิตรต่อวันเป็น ซึ่งอาจจะเป็นการรดน้ำ 16 ลิตรทุกวัน หรือรดน้ำ 32 ลิตรทุก 2 วัน หรือรดน้ำ 48 ลิตรทุก 3 วัน ก็ได้ โดยการเว้นระการรดน้ำต้องดูด้วยว่าไม่ได้ปล่อยให้ดินแห้งจนถึงขั้นต้นไม้แสดงอาการเหี่ยว

หลักการคำนวณการรดน้ำง่ายๆ นี้ นำไปใช้ได้กับพืชทุกชนิด รู้หลักการนี้แล้วถ้าเกษตรกรทำสวนขนาดใหญ่ก็สามารถใช้คำนวณระบบท่อน้ำต่อไปได้ด้วย

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3613
พืชที่เหมาะจะปลูก ในแต่ละภาค ของประเทศไทย ภาคไหน... ปลูกอะไรดี?
พืชที่เหมาะจะปลูก ในแต่ละภาค ของประเทศไทย ภาคไหน... ปลูกอะไรดี?
พี่น้องเกษตรกรหลายคน น่าจะเคยสงสัยว่าเราปลูกพืชชนิดเดิมๆ มานาน อยากเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นบ้าง แล้วเราจะปลูกอะไรดี หรือเกษตรมือใหม่ทีอยากจะปลูกพืช แต่ไม่รู้ว่าพื้นที่ๆ เราอยู่ควรปลูกพืชอะไรดี

เพื่อให้ง่ายกับการวางแผนการทำการเกษตรสำหรับเกษตรกรรุ่นเก๋า เกษตรกรรุ่นใหม่ เกษตรกรมือใหม่ มาดูกันว่าในแต่ละภูมิภาคที่เราอยู่ปลูกพืชชนิดไหนได้บ้าง

ภาคกลาง - ภูมิภาคแห่งการปลูกข้าว

พืชที่เหมาะสมกับการปลูกในภาคกลาง มีดังนี้

ข้าว

อ้อย

ข้าวโพด

ผัก

ภาคกลางนั้นเป็นพื้นที่ราบลุ่มและมีแหล่งน้ำเพียงพอ การเลือกปลูกพืชสำหรับภาคกลางจึงไม่ใช่เรื่องยาก แต่หากให้เลือกชนิดพืชที่เหมาะสมที่สุด ก็คงหนีไม่พ้นข้าว ในประเทศไทยนั้นมีพื้นที่กว่า 32 ล้านไร่ที่เป็นพื้นที่เหมาะสมกับการปลูกข้าว นอกเหนือจากนั้นยังเหมาะกับการปลูกอ้อยและข้าวโพดอีกด้วย

อย่างไรก็ตาม ด้วยความเป็นพื้นที่ราบลุ่มและมีแม่น้ำไหลผ่านหลายสาย สิ่งที่เกษตรกรพึงระวังคือเรื่องน้ำท่วม เนื่องจากมีสภาพพื้นที่ลุ่มต่ำ มีความสูงจากระดับน้ำทะเลไม่มาก ทำให้เป็นพื้นที่ที่เสี่ยงต่อน้ำท่วมมากที่สุด การวางแผนทำการเกษตรในภาคกลางจึงควรคำนึงถึงเรื่องนี้เพื่อป้องกันการเสียหายจากน้ำท่วมในอนาคต

ภาคเหนือ - สูงและเย็น คือคำนิยาม

พืชที่เหมาะสมกับการปลูกในภาคเหนือ มีดังนี้

ข้าว

ลำไย

ลิ้นจี่

ส้ม

สตรอเบอรี่

บ๊วย

พลับ

กีวี่

พีช

เสาวรส

ผักเมืองหนาว

ภาคเหนือเป็นภูมิภาคที่เต็มไปด้วยภูเขา แต่ก็ยังเป็นพื้นที่เหมาะสมกับการปลูกข้าวได้อย่างดี โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ แต่สิ่งที่ทำให้ภาคเหนือมีความพิเศษคือสภาพอากาศหนาวเย็น เปิดโอกาสให้เกษตรกรภาคเหนือได้ปลูกพืชเมืองหนาว ซึ่งหาไม่ได้จากเมืองร้อนอย่างไทย เช่นสตรอเบอรี่ บ๊วย พลับ กีวี่ พีช เสาวรส และผักเมืองหนาว เป็นต้น

ถึงอย่างนั้น หากเป็นภาคเหนือบริเวณพื้นที่ภูเขาสูง อาจต้องคำนึงถึงการบริหารจัดการน้ำ เพราะหลายพื้นที่ก็อาจขาดแคลนน้ำได้ รวมถึงต้องระวังการปลูกพืชที่ไม่ชอบอากาศหนาวอีกด้วย

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - แดนดินเค็มและแห้งแล้ง

พืชที่เหมาะสมกับการปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีดังนี้

ข้าว

อ้อย

มันสำปะหลัง

ข้าวโพด

สับปะรด

มะพร้าว

ลำไย

ถือเป็นภาคที่ขึ้นชื่อเรื่องสภาพพื้นที่อันโหดร้าย เพราะความแล้งจัดและความเค็มของดินจึงทำให้ยากต่อการเลือกปลูกพืชสำหรับภาคอีสาน อย่างไรก็ตาม ภูมิภาคนี้กลับเป็นพื้นที่เหมาะสมกับการปลูกข้าวคุณภาพดีชั้นหนึ่งของไทยอย่างข้าวหอมมะลิ การปลูกพืชในภาคอีสานต้องมีการปรับปรุงดินและบริหารจัดการน้ำที่ดี เพราะเสี่ยงภัยแล้งจัดและดินมีความอุดมสมบูรณ์ค่องข้างต่ำกว่าที่อื่น นอกเหนือจากข้าวแล้วยังมีอ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพด สับปะรด มะพร้าว และลำไย ซึ่งพืชเหล่านี้ถือว่ามีความเหมาะสมระดับปานกลางที่จะปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การแก้ปัญหาดินเค็มนั้นใช้ต้นทุนค่อนข้างสูงและยาก ยิ่งสูบน้ำบาดาลขึ้นมาใช้อาจจะยิ่งซ้ำปัญหาดินเค็มมากกว่าเดิม แต่เกษตรกรสามารถทดลองปลูกพืชทนเค็ม จำพวกพุทรา มะขาม หน่อไม้ฝรั่ง ละมุด เป็นอีกตัวเลือกหนึ่งได้ หรือหากอยู่ในภาคอีสานตอนบนที่ค่อนข้างสูงและเย็น ก็สามารถทดลองปลูกไม้เมืองหนาวได้เช่นกัน

ภาคตะวันออก - แดนทุเรียน ถิ่นไม้ผล

พืชที่เหมาะสมกับการปลูกในภาคตะวันออก มีดังนี้

ทุเรียน

มังคุด

ลำไย

อ้อย

มันสำปะหลัง

ข้าวโพด

สับปะรด

ยางพารา

หากพูดถึงภาคตะวันออก หนึ่งในจังหวัดที่นิยมปลูกไม้ผลที่สุดคงไม่พ้นจังหวัดจันทบุรีและระยอง ที่มีชื่อเสียงจากทุเรียน เนื่องจากเป็นภาคที่มีสภาพอากาศร้อนชื้นและฝนตกชุก ซึ่งเป็นพื้นที่เหมาะสมกับการปลูกไม้ผลเป็นอย่างยิ่ง แต่นอกเหนือจากทุเรียนแล้ว อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพด สับปะรด และยางพาราก็เหมาะสมที่จะปลูกในภาคตะวันออกเช่นกัน

แม้จะเป็นพื้นที่เหมาะกับการปลูกไม้ผล แต่เพราะสภาพอากาศฝนตกชุกของภาคตะวันออก เกษตรกรควรระวังโรคที่มากับฝนและความชื้น เช่น โรคไฟทอปธอร่าในทุเรียน ที่มักจะระบาดหนักจากความชื้นในดิน ดังนั้นภูมิภาคนี้ต้องการความใส่ใจมากเป็นพิเศษ ไม่แพ้ภาคอื่นๆเลยทีเดียว

ภาคใต้ - พื้นที่มากฝนและพายุ จุดศูนย์รวมปาล์มน้ำมันและยางพารา

พืชที่เหมาะสมกับการปลูกในภาคใต้ มีดังนี้

ทุเรียน

ปาล์มน้ำมัน

ยางพารา

เงาะ

กาแฟโรบัสต้า

ด้วยสภาพพื้นที่ยื่นออกไปในทะเลอันดามันและอ่าวไทย ภาคใต้จึงเป็นภูมิภาคที่มีฝนตกชุกมากที่สุดในประเทศไทย รวมทั้งสภาพอากาศโดยรวมคือร้อนชื้น คล้ายคลึงกับภาคตะวันออกเป็นอย่างมาก จึงทำให้เป็นพื้นที่เหมาะสมกับการปลูกไม้ผลและพืชไร่หลายชนิด แต่หนึ่งในพืชที่เหมาะสมโดดเด่นที่สุดในภาคใต้คงหนีไม่พ้นปาล์มน้ำมัน ยางพารา และเงาะ ซึ่งสามารถปลูกได้ทั้งภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปถึงนราธิวาส ทว่านอกเหนือจากพืชสองชนิดนี้แล้ว กาแฟโรบัสต้าเองก็มีความเหมาะสมปานกลางที่จะปลูกในภาคใต้อีกด้วย

ข้อควรระวังของภาคใต้ คือฝนตกชุกที่อาจนำพาโรคมา รวมไปถึงพายุที่อาจทำให้สวนของเกษตรกรเสียหายได้ ดังนั้นจึงควรระวังและป้องกันพืชผลไม่ให้ถูกทำลายจากพายุให้ดี

นอกเหนือจากข้อมูลเหล่านี้แล้ว สิ่งที่เกษตรกรควรคำนึงถึงก่อนเลือกปลูกพืชในแต่ละภูมิภาค คือสภาพดินในไร่สวนของตนเอง เกษตรกรควรมีการตรวจวิเคราะห์ดินโดยสามารถส่งตรวจกับสำนักงานพัฒนาที่ดินในพื้นที่ของตนเอง จากนั้นจึงนำผลมาใช้ในการปรับปรุงดินให้เป็นพื้นที่เหมาะสมกับการปลูกพืชต่อไป การปลูกพืชนอกเหนือไปจากพื้นที่ที่เหมาะสมนั้นสามารถทำได้ เพียงแต่ต้องอาศัยการจัดการที่มากขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงต้นทุนที่สูงขึ้นกว่าการปลูกในพื้นที่ที่เหมาะสมตามธรรมชาติ และต้องคำนึงถึงช่องทางการขายและการขนส่งผลผลิตไปยังโรงงานแปรรูปหรือผู้รับซื้ออีกด้วย

อ้างอิงข้อมูลจาก : Kaset Go

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3512
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยต่างๆ ในทุเรียน และพืชอื่นๆ มาคา และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยต่างๆ ในทุเรียน และพืชอื่นๆ มาคา และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยต่างๆ ในทุเรียน และพืชอื่นๆ มาคา และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
มาคา และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

มาคา เป็นสารอินทรีย์ ปลอดภัย ป้องกัน กำจัด เพลี้ยต่างๆ เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยกระโดด เพลี้ยแมลงศัตรูพืชต่างๆ
ขนาด 1 ลิตร (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม มาคา และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

เหตุผลที่แนะนำให้ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกัน
เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า
เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3434
หนอนทุเรียน หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้-บีที จาก FK
หนอนทุเรียน หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้-บีที จาก FK
หนอนทุเรียน หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้-บีที จาก FK
ป้องกัน กำจัด หนอน ใน ทุเรียน ใช้

ไอกี้-บีที

อัตราการผสมใช้

25กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 250กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

การผสม FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน จะช่วยให้พืชฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของ โรค และ แมลงศัตรูพืช ได้เร็วยิ่งขึ้น
อ่าน:3408
เพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยต่างๆ มาคา จาก FK
เพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยต่างๆ มาคา จาก FK
เพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยต่างๆ มาคา จาก FK
เพลี้ย แมลงศัตรูพืช ทุเรียน เช่น เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยต่างๆ ใช้ มาคา

มาคา

อัตราการผสมใช้

50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร

ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

การผสม FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน จะช่วยให้พืชฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของ โรค และ แมลงศัตรูพืช ได้เร็วยิ่งขึ้น
อ่าน:3411
โรคใบติดทุเรียน ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ โรคทุเรียน ที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส จาก FK
โรคใบติดทุเรียน ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ โรคทุเรียน ที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส จาก FK
โรคใบติดทุเรียน ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ โรคทุเรียน ที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส จาก FK
โรคทุเรียนต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น ทุเรียนกิ่งแห้ง หักง่าย ทุเรียนก้านธูป โรคใบติด ใบไหม้ ขั้วผลเน่า ป้องกัน กำจัด ใช้ ไอเอส

ไอเอส

อัตราการผสมใช้

50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร

ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

การผสม FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน จะช่วยให้พืชฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของ โรค และ แมลงศัตรูพืช ได้เร็วยิ่งขึ้น
อ่าน:3425
ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ เพลี้ยไก่แจ้ หนอน ปุ๋ยทุเรียน ใช้ ปุ๋ยยาฯ FK ฟาร์มเกษตร
ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ เพลี้ยไก่แจ้ หนอน ปุ๋ยทุเรียน ใช้ ปุ๋ยยาฯ FK ฟาร์มเกษตร
โปรดอ่านข้อมูลก่อนเลือกซื้อ ปุ๋ยยาฯ สำหรับทุเรียน โรคใบติดทุเรียน ทุเรียนใบไหม้ ทุเรียนก้านธูป ใช้ ไอเอส ส่วนเพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยต่างๆ ใช้ มาคา หนอนต่างๆใช้ ไอกี้ ปุ๋ยเร่งโต FK-1 และปุ๋ยเร่งผล FK-3

สามารถเลือกซื้อได้ ตามช่องทางที่ลูกค้าถนัด

โทรหาเราโดยตรง 090-592-8614

ไลน์ไอดี @FarmKaset

หรือซื้อกับระบบของ

เจดี เซ็นทรัล http://www.farmkaset..link..

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3442
ปุ๋ยทุเรียน คุณภาพสูง ทดแทนปุ๋ยเม็ด ยาแก้ ทุเรียนใบไหม้ โรคใบติด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยทุเรียน หนอน
ปุ๋ยทุเรียน คุณภาพสูง ทดแทนปุ๋ยเม็ด ยาแก้ ทุเรียนใบไหม้ โรคใบติด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยทุเรียน หนอน
ปุ๋ยทุเรียน ยาทุเรียน มีให้เลือก ครบทุกช่วงอายุ โปรดอ่านรายละเอียด และเลือกซื้อที่

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3532
ป้องกันกำจัด โรคราสีชมพู ในทุเรียน ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
ป้องกันกำจัด โรคราสีชมพู ในทุเรียน ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
✨โรคพืชทางใบ โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล ราดำ ราสนิม ราน้ำค้าง ใบติด ยอดแห้ง ขอบใบเหลืองไหม้ ไฟทอปโธร่า แอนแทรคโนส แก้ด้วย ไอเอส บวกกับ บำรุงให้ฟื้นตัวเร็วด้วย FKธรรมชาตินิยม (FKT)

👌ใช้ ง่าย ผสมน้ำ ฉีดพ่น
– สำหรับถังฉีด 16-20 ลิตร ใช้ ไอเอส 50ซีซี + FKT 50ซีซี ผสมลงในน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น (ฝาไอเอสตวงได้ 50ซีซีพอดี)
– สำหรับฟ็อกกี้ 1-2 ลิตร ใช้ฝา FKT ตวง ไอเอส 1ฝา + FKT 1ฝา ผสมลงในน้ำ 1-2 ลิตร ฉีดพ่น
– FK1 แกะกล่องมามีสองถุง ตักถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร (50 กรัม ประมาณ สองช้อนโต๊ะ)

💫ขนาดบรรจุ ชุดเล็ก 499 บาท
– FKธรรมชาตินิยม (FKT) บรรจุ 250ซีซี
– ไอเอส บรรจุ 250ซีซี

💫ขนาดบรรจุ ชุดกลาง 1340 บาท
– FK-1 บรรจุ 2 กิโลกรัม
– ไอเอส บรรจุ 1000ซีซี

💫ขนาดบรรจุ ชุดใหญ่ 1790 บาท
– FK-1 บรรจุ 2 กิโลกรัม
– ไอเอส บรรจุ 3000ซีซี

🌞ข้อมูลติดต่อสั่งซื้อ
– ทักแชทเฟสบุ๊คได้เลยนะคะ หรือคลิก http://www.farmkaset..link..
– โทร 090-592-8614
– ไลน์ไอดี @FarmKaset หรือคลิก http://www.farmkaset..link..

ซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3381
โรคราดำทุเรียน ป้องกันราดำทุเรียน แก้ราดำทุเรียน ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
โรคราดำทุเรียน ป้องกันราดำทุเรียน แก้ราดำทุเรียน ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
✨โรคพืชทางใบ โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล ราดำ ราสนิม ราน้ำค้าง ใบติด ยอดแห้ง ขอบใบเหลืองไหม้ ไฟทอปโธร่า แอนแทรคโนส แก้ด้วย ไอเอส บวกกับ บำรุงให้ฟื้นตัวเร็วด้วย FKธรรมชาตินิยม (FKT)

👌ใช้ ง่าย ผสมน้ำ ฉีดพ่น
– สำหรับถังฉีด 16-20 ลิตร ใช้ ไอเอส 50ซีซี + FKT 50ซีซี ผสมลงในน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น (ฝาไอเอสตวงได้ 50ซีซีพอดี)
– สำหรับฟ็อกกี้ 1-2 ลิตร ใช้ฝา FKT ตวง ไอเอส 1ฝา + FKT 1ฝา ผสมลงในน้ำ 1-2 ลิตร ฉีดพ่น
– FK1 แกะกล่องมามีสองถุง ตักถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร (50 กรัม ประมาณ สองช้อนโต๊ะ)

💫ขนาดบรรจุ ชุดเล็ก 499 บาท
– FKธรรมชาตินิยม (FKT) บรรจุ 250ซีซี
– ไอเอส บรรจุ 250ซีซี

💫ขนาดบรรจุ ชุดกลาง 1340 บาท
– FK-1 บรรจุ 2 กิโลกรัม
– ไอเอส บรรจุ 1000ซีซี

💫ขนาดบรรจุ ชุดใหญ่ 1790 บาท
– FK-1 บรรจุ 2 กิโลกรัม
– ไอเอส บรรจุ 3000ซีซี

🌞ข้อมูลติดต่อสั่งซื้อ
– ทักแชทเฟสบุ๊คได้เลยนะคะ หรือคลิก http://www.farmkaset..link..
– โทร 090-592-8614
– ไลน์ไอดี @FarmKaset หรือคลิก http://www.farmkaset..link..

ซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3397
425 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 42 หน้า, หน้าที่ 43 มี 5 รายการ
|-Page 34 of 43-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
แก้ปัญหา โรคมันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ เพลี้ยมันสำปะหลัง และ ปุ๋ยมันสำปะหลัง
Update: 2565/04/25 17:19:54 - Views: 3405
ต่อสู้ทันที! วิธีกำจัดหนอนในต้นแตงโม
Update: 2566/11/15 14:56:32 - Views: 3460
เกษตรกรท่านใดมีปัญหา !!💢ต้นไม่แข็งแรง 💢ผลผลิตโตช้า 💢ผลผลิตไม่สมบูรณ์💢ปลูกแล้วขาดทุน "เราช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ให้คุณได้" ขาดทุน
Update: 2566/11/04 11:42:23 - Views: 3442
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยจักจั่นสีเขียว ศัตรูตัวร้าย ในนาข้าว บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/23 13:42:38 - Views: 3559
คะน้า ใบจุด ใบเหลือง ใบไหม้ ราน้ำค้าง ในต้นผักคะน้า สร้างความเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร ??
Update: 2566/11/07 09:33:43 - Views: 3432
ปุ๋ยบำรุงมะนาว ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ
Update: 2564/04/01 13:41:16 - Views: 3539
กำจัดเพลี้ย ศัตรูพืชในต้นทุเรียน มาคา สารอัลคาลอยด์สกัดจากธรรมชาติ FK-1 เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชืั้อราในต้นทุเรียน
Update: 2566/05/23 10:17:58 - Views: 3421
การป้องกันกำจัด โรคราสนิมถั่วเหลือง (soybean rust)
Update: 2563/12/07 09:09:25 - Views: 3421
การป้องกันกำจัด โรคใบจุดในกล้วย
Update: 2566/03/11 12:10:37 - Views: 3405
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน เมล่อน เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/24 13:54:22 - Views: 3412
แก้ปัญหา มะพร้าวใบเหลือง ผลเล็ก ไม่ติดผล ด้วยปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/15 13:35:04 - Views: 3845
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคลำต้นและกิ่งไหม้ ใน ดอกบานไม่รู้โรย ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/19 12:15:55 - Views: 3453
มังคุด ใบไหม้ ใบจุด กำจัดโรคมังคุด จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/21 09:48:28 - Views: 3434
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยหอย ในดอกกุหลาบ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/11 14:13:10 - Views: 3455
โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ต้องหมั่นสังเกตุตรวจดูแลสวน หากพบ ให้เร่งป้องกันกำจัด
Update: 2566/11/04 14:14:10 - Views: 10150
ยารักษาโรคพืช กำจัดโรครากำมะหยี่ ใน มะเขือเทศ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด3 ลิตรใช้ได้15ไร่)
Update: 2566/05/31 11:19:05 - Views: 3416
การป้องกันและควบคุมเพลี้ยในต้นพุดซ้อน: วิธีการและแนวทาง
Update: 2566/11/18 12:59:55 - Views: 3440
ยากำจัดโรคใบจุด ใน ถั่วลิสง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/14 10:25:13 - Views: 3434
หนอนเจาะดอกมะลิ ดอกมะลิจะเป็นสีน้ำตาลแห้ง ยากำจัด หนอนมะลิ ใช้ ไอกี้ บำรุง ฟื้นตัวด้วย FK-T
Update: 2565/07/23 17:30:43 - Views: 3466
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโตมันสำปะหลัง และปุ๋ยระเบิดหัวมันสำปะหลัง ครบเซ็ต
Update: 2564/08/27 23:58:01 - Views: 3525
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022