[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - โรคไหม้
270 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 27 หน้า, หน้าที่ 28 มี 0 รายการ

โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส แก้ด้วย ไอเอส
โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส แก้ด้วย ไอเอส
เชื้อรา คือพืชที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ มีขนาดเล็กตั้งแต่เป็นเส้นใย ที่ชอบขึ้นบนซากสัตว์จนถึงขนาดใหญ่ เช่น พวกเห็ดทั้งหลาย เชื้อราบางชนิดเป็นสาเหตุของโรค คน สัตว์และพืช
โรคที่เกิดจากเชื้อรา ได้แก่
1) โรคไหม้
2) โรคใบขีดสีน้ำตาล
3) โรคใบจุดสีน้ำตาล
4) โรคใบวงสีน้ำตาล
.
เชื้อแบคทีเรีย คือจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็ก ไม่สามารถเห็นด้วยตาเปล่า มีรูปร่างตั้งแต่กลม กลมรี และส่วนใหญ่เป็นแท่ง มักมีหางตรงส่วนปลาย เป็นสาเหตุโรคคน สัตว์ และพืชมาก โรคที่เกิดจากเชื้อบักเตรีมักจะเกิดการเน่าส่งกลิ่นเหม็น.
โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ โรคขอบใบแห้ง
.
เชื้อไวรัส คือสิ่งที่มีตัวตนประกอบด้วย โปรตีนและนิวเคลียร์อิกแอสิค สามารถขยายจำนวนได้ภายในเซลล์ที่มีชีวิต มีขนาดเล็กจิ๋วมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าหรือแม้แต่กล้องจุลทัศน์ธรรมดา ต้องใช้กล้องอิเลคตรอน ไวรัสทุกชนิดอาศัยยังชีพอยู่ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทั้งปวง.
โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส และ/หรือ ไฟโตพลาสมา ได้แก่ โรคใบสีแสด

.

ป้องกันและกำจัดโรคต่างๆ เหล่านี้ด้วย ไอเอส

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3453
โรคพืช
โรคพืช
โรคพืช หมายถึงลักษณะอาการของพืชที่ผิดไปจากปกติ ซึ่งอาจเกิดขึ้นบนส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นพืช หรือตลอดทั้งต้น และรวมไปจนถึงการแห้งตายไปทั้งต้น สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคพืชแบ่งได้ 2 สาเหตุคือ

1. เกิดจากสิ่งมีชีวิต (pathogenic disease) เช่น โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส (virus) เชื้อไมโคพลาสมา

(mycoplasma) เชื้อแบคทีเรีย (bacteria) เชื้อรา (fungi) และไส้เดือนฝอย โรคพืชจะเกิดขึ้นและสามารถแพร่กระจายระบาดออกไปได้ถ้าหากมีเชื้อสาเหตุเหล่านี้ ตลอดจนมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดและการแพร่กระจายของโรคพืชนั้น ๆ การแพร่กระจายของโรคพืชอาศัย น้ำ ฝน ความชื้น ลม ดิน หรือโดยการถ่ายทอด (transmission) ผ่านทางเมล็ดพันธุ์ ส่วนขยายพันธุ์ หรือโดยแมลง

ลักษณะอาการ (symptom) ของโรคพืชซึ่งเกิดจากเชื้อสาเหตุที่แตกต่างกัน จะแตกต่างกันดังต่อไปนี้

1.1) ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส มักมีอาการโรคใบหด ใบหงิก ใบสีเหลืองส้ม ใบด่างเหลือง ใบม้วน

1.2) ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อไมโคพลาสมา มักมีอาการโรคใบขาว ลำต้นแคระแกรน แตกกอเป็นพุ่ม หรือใบเหลืองซีด กิ่งแห้งตาย ลำต้นทรุดโทรมและไม่ให้ผลผลิต

1.3) ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อแบคทีเรีย มีลักษณะอาการแตกต่างกัน 5 แบบ คือ

1.3.1) เหี่ยว (wilt) อาการเหี่ยวเฉา เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญในท่อน้ำ ท่ออาหารของต้นพืช ทำให้เกิดการอุดตันของท่อน้ำและท่ออาหาร จึงเป็นเหตุให้พืชได้รับน้ำและอาหารไม่เพียงพอ เกิดอาการเหี่ยวเฉา หรือเจริญเติบโตผิดปกติและจะตายไปในที่สุด เช่น โรคเหี่ยวของมะเขือเทศ มันฝรั่ง ยาสูบ ถั่วลิสง กล้วย แตงกวา แตงโม มีสาเหตุมาจากเชื้อ Xanthomonas spp._ Pseudomonas spp._ Erwinia spp.

1.3.2) เน่าเละ (soft rot) อาการเน่าและมีกลิ่นเหม็น ทั้งนี้เพราะแบคทีเรียเข้าทำลายเซลล์พืช และมีเชื้อจุลินทรีย์อื่น ๆ ร่วมเข้าทำลายซ้ำเติม โรคพืชแบบนี้มักเกิดกับส่วนของพืชที่อวบน้ำ เช่น โรคเน่าเละของพืชผัก มันฝรั่ง มะเขือเทศ แตงกวา กะหล่ำ พริก ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากเชื้อ Erwinia spp.

1.3.3) แผลเป็นจุด (spot หรือ local lesion) อาการจุดแห้งตาย เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์หรือในเซลล์ ทำให้เซลล์บริเวณนั้นตายเป็นแผลแห้งมีขอบเขตจำกัด เช่น โรคใบจุดของฝ้าย โรคใบจุดของถั่วเหลือง โรคขอบใบแห้งของข้าว โรคแคงเคอร์ของส้ม โรคใบจุดของยาสูบ เชื้อสาเหตุ ได้แก่ Xanthomonas sp._ Pseudomonas spp.

1.3.4) ไหม้ (blight) อาการใบไหม้ตาย เริ่มจากจุดเล็ก ๆ ก่อน แล้วแผ่ขยายไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีขอบเขตจำกัด เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ แต่ไม่ทำลายเนื้อเยื่อเซลล์ เพียงแต่ทำให้การเคลื่อนย้ายน้ำและอาหารในพืชไม่สะดวก ทำให้ใบและลำต้นมีสีซีด (necrosis) และอาจแห้งตายไปในที่สุด เช่น โรคใบไหม้ของถั่ว ยางพารา แอปเปิ้ล เชื้อสาเหตุได้แก่ Xanthomonas spp. Phythopthora spp. และ Erwinia spp.

1.3.5) ปุ่มปม (gall หรือ tumer) อาการเป็นปุ่มปมเกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในเซลล์พืช แล้วสร้างสารบางชนิดออกมากระตุ้นให้เซลล์บริเวณนั้นมีการแบ่งตัวมากขึ้น เช่น โรค crown gall ของมะเขือเทศ โรค gall ของหัวบีท เชื้อสาเหตุได้แก่ Agrobacterium spp. และ Xanthomonas spp.

1.4) ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรา ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรามีมากหลายแบบ เช่น ใบเป็นแผล ใบไหม้ ใบบิด ต้นเหี่ยว รากเน่า โคนต้นเน่า ผลเน่า เมล็ดเน่า ต้นกล้าเน่า หรือต้นแห้งตายไปทั้งต้น ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรามักจะสังเกตเห็นเส้นใย (hypha) สปอร์ (spore) ส่วนสืบพันธุ์ต่างๆ เช่น sporangium_ conidia_ basidiumascus มีสีขาว หรือสีดำ หรือสีน้ำตาล ปรากฏตามรอยแผลอาการของโรค หรือตรงส่วนที่เชื้อสาเหตุเข้าสู่ต้นพืช ตัวอย่างของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้แก่ โรคโคนเน่าคอดินของต้นกล้า โรครากและโคนต้นเน่า โรคราน้ำค้าง โรคเน่าของผลไม้และผัก โรคราแป้งขาว โรคราสนิมเหล็ก โรคเขม่าดำ โรคแส้ดำของอ้อย โรคไหม้ของข้าว โรคใบจุดของข้าวโพด โรคใบจุดตานกของยางพารา โรคแอนแทรคโนส โรคเหี่ยวของมะเขือเทศ

1.5) ลักษณะอาการของโรคพืชจากไส้เดือนฝอย มักทำให้เกิดโรครากปม รากขอด และลำต้นพืชเหี่ยวเฉาตายไปในที่สุด

2) เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต (nonpathogenic disease) อาการของโรคพืชอาจเกิดจากสาเหตุเนื่องจากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น การขาดธาตุอาหาร ธาตุอาหารเป็นพิษ ดินเป็นกรด ดินเค็มจัด ดินเป็นด่าง หรือพิษจากสารเคมีบางชนิด สาเหตุต่างๆ เหล่านี้ทำให้การเจริญเติบโตของต้นพืชผิดปกติ ลำต้นแคระแกร็น มีสีซีด หรือสีผิดปกติ ไม่ให้ผลผลิต โรคพืชซึ่งมีสาเหตุเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต จะเกิดเฉพาะบริเวณ ไม่สามารถแพร่กระจายหรือระบาดไปยังแหล่งอื่นๆ ได้

สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค สืบศักดิ์ (2540) กล่าวว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคนั้น มีด้วยกัน 4 ประการที่สำคัญคือ เชื้อสาเหตุของโรค พืชอาศัย สภาพแวดล้อม และเวลา ปัจจัยทั้งสี่มีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างยิ่งยวด จะขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไม่ได้เลย หากนำมาเขียนเป็นรูปจะได้รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ซึ่งเรียกว่า “สามเหลี่ยมโรคพืช” ดังแสดงในรูป

Reference: main content from natres.psu.ac.th
อ่าน:3735
โรคเชื้อราต่างๆในแก้วมังกร โรคไหม้ ราจุดสนิม เป็นแผลจุดสีน้ำตา โรคแก้วมังกรต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคเชื้อราต่างๆในแก้วมังกร โรคไหม้ ราจุดสนิม เป็นแผลจุดสีน้ำตา โรคแก้วมังกรต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
ป้องกัน ยับยั้งด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

📌 ไอเอส ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.farmkaset..link..
📌 ไอเอส ข้อมูลรายละเอียด และโปรโมชั่น ที่ลิงค์นี้นะค่ะ http://www.farmkaset..link..
✅ ปลอดสารพิษ ✅ จากธรรมชาติ ✅ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

🚚 มีบริการเก็บเงินปลายทางฟรี ไม่ต้องโอน

📞 โทรสอบถามหรือสั่งซื้อ 090-592-8614

👉 แอดไลน์ไอดี FarmKaset หรือคลิก http://www.farmkaset..link..
👉 สอบถามสั่งซื้อทางเพจ ฟาร์มเกษตร หรือคลิก http://www.farmkaset..link..
ขอบคุณภาพประกอบจาก dailynews.co.th/agriculture/571184
อ่าน:3459
โรคข้าว : โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease) แสดงอาการบนแต่ละส่วน ตามระยะการโตของข้าง เร่งป้องกันกำจัด
โรคข้าว : โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease) แสดงอาการบนแต่ละส่วน ตามระยะการโตของข้าง เร่งป้องกันกำจัด
รคไหม้ข้าว อาการข้าวใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล
พบทุกภาคในประเทศไทย ในข้าวนาสวน ทั้งนาปีและนาปรัง และข้าวไร่

สาเหตุ เกิดจาก เชื้อรา Pyricularia oryzae.
ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้อาการ

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคไหม้คอรวง หรือ โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้.. http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3395
ข้าวใบไหม้ ข้าวเน่าคอรวง พบได้ทั้งใน นาปรัง และนาปี มีสาเหตุจากเชื้อรา รักษาด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
ข้าวใบไหม้ ข้าวเน่าคอรวง พบได้ทั้งใน นาปรัง และนาปี มีสาเหตุจากเชื้อรา รักษาด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease)
“ข้าวใบไหม้“_ “ใบจุดข้าว“_ “ข้าวใบจุดสีน้ำตาล” พบมาก ในนาน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และ ภาคใต้

สาเหตุของ โรคไหม้ข้าว คือเชื้อรา Pyricularia grisea Sacc..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3479
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
การให้ปุ๋ยข้าว เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีนั้น ต้องให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสม สอดคล้องกับช่วงอายุของการเจริญเติบโตของข้าว ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงข้าวเริ่มงอก ไปจนก่อนตั้งท้อง เราควรให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เน้นไปทางส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมระบบราก เพื่อให้ดูดกินอาหารได้ดี และเพิ่มความเขียว เพื่อให้ต้นข้าวสังเคราะห์แสงได้ดี ทำให้ข้าวโตไวและแข็งแรง หากเราเน้นให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เร่งกระบวนการเพิ่มผลผลิตในช่วงนี้ จะสิ้นเปลือง เพราะต้นข้าวจะไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่

ในทางกลับกัน ในระยะข้าวตั้งท้อง ควรลดปริมาณการให้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง และเพิ่มโพแตสเซียมให้มากขึ้น เพื่อที่จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียงสะสมแป้งและน้ำตาล เพื่อให้ข้าวออกรวงได้ยาว มีเมล็ดเต็ม มีน้ำหนัก ส่งผลให้ผลผลิตข้าวมีคุณภาพ และได้ผลผลิตในปริมาณที่สูงขึ้น

ฉีดพ่นด้วย FK-1 สำหรับข้าวหลังปลูก ไปจนถึงก่อนข้าวตั้งท้อง สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน เพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโต เร่งการแตกกอ เพิ่มความเขียวสมบูรณ์ แข็งแรงให้กับต้นข้าว

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

ข้าวเริ่มตั้งท้อง เปลียนมาฉีดพ่นด้วย FK-3R ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่างจาก FK-1 ตรงที่ FK-3R นั้น เน้นธาตุโพแตสเซียมสูง 40 เปอร์เซ็นต์ โพแตสเซียมนี้ จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียง เคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล มาสะสมเป็นเมล็ดข้าว ข้าวที่เราปลูกนั้นจะมีรวงยาว เมล็ดเต็ม ได้ผลผลิตดี มีน้ำหนัก อัตราการใช้ FK-3R นั้น เป็นเช่นเดียวกันกับ FK-1 สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน ตามความเหมาะสมของผู้ปลูก

ยายับยังโรคข้าวต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคไหม้ โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบวงสีน้ำตาล โรคกาบใบแห้ง โรคกาบใบเน่า โรคเมล็ดด่าง โรคขอบใบแห้ง โรคใบแถบแดง โรคกล้าเน่า โรคลำต้นเน่า
ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว
เพลี้ยไฟข้าว เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว เพลี้ยจักจั่นสีเขียว เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก
ใช้ มาคา ยาอินทรีย์ สารอัลคาลอยด์ ป้องกัน กำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดหนอนต่างๆ ในนาข้าว
หนอนกอข้าว หนอนแมลงวันเจาะยอดข้าว หนอนกระทู้กล้า หนอนห่อใบข้าว หนอนปลอกข้าว หนอนกระทู้คอรวง
ใช้ ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด
อ่าน:3448
รักษาโรคใบไหม้ รักษาโรคใบจุด ใบเหลือง แห้งกรอบ โรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส3ลิตร 900บาท
รักษาโรคใบไหม้ รักษาโรคใบจุด ใบเหลือง แห้งกรอบ โรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส3ลิตร 900บาท

รักษาโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส โรคใบไหม้ โรคใบแห้ง โรคใบจุดสีน้ำตาล โรครากเน่าโคนเน่า โรคไหม้คอรวง ใช้ ไอเอส

สั่งซื้อได้ 3 ช่องทาง
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกเพื่อแอดไลน์ http://line.me/ti/p/~FarmKaset เฟสบุ๊คแชทสั่งซื้อ https://www.facebook.com/farmkaset มีเจ้าหน้าที่คอยตอบตลอดเวลา

https://www.youtube.com/watch?v=nrwMtRhtD8s
อ่าน:3479
หนอนเข้าทำลาย และเป็นโรคขอบใบไหม้จากเชื้อรา ใช้ ไอกี้ กำจัดหนอน และ ไอเอส ยับยั้งเชื้อรา
หนอนเข้าทำลาย และเป็นโรคขอบใบไหม้จากเชื้อรา ใช้ ไอกี้ กำจัดหนอน และ ไอเอส ยับยั้งเชื้อรา
หนอนเข้าทำลาย และเป็นโรคขอบใบไหม้จากเชื้อรา ใช้ ไอกี้ กำจัดหนอน และ ไอเอส ยับยั้งเชื้อรา
ตามภาพที่ลูกค้าส่งมาให้ดูนี้ มีหนอนตัวโตเลย ที่กัดกินใบพืช และตามมาด้วยอาการขอบใบไหม้ นั้นคือโรคไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ยาสองตัวเพื่อกำจัด

ไอกี้ บีที สำหรับกำจัดหนอน ปลอดสารพิษ ตัวนี้ราคา 490 บาท

ไอเอส สำหรับยับยังเชื้อรา ไม่ให้ลุกลาม และแพร่กระจายต่อไปได้ ราคา 450 บาท

สนใจสั่งซื้อ ติดต่อ ฟาร์มเกษตร
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี PrimPB
อ่าน:3401
โรคไหม้คอรวง ข้าวขาดคอรวง ข้าวเน่าคอรวง แก้ด้วย ไอเอส สารอินทรีย์กำจัดเชื้อรา ปลอดภัย
โรคไหม้คอรวง ข้าวขาดคอรวง ข้าวเน่าคอรวง แก้ด้วย ไอเอส สารอินทรีย์กำจัดเชื้อรา ปลอดภัย
โรคไหม้คอรวง ข้าวขาดคอรวง ข้าวเน่าคอรวง แก้ด้วย ไอเอส สารอินทรีย์กำจัดเชื้อรา ปลอดภัย
โรคไหม้คอรวง ถ้าเป็นในระยะออกรวงข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราสาเหตุของโรคนี้เข้าทำลายเมล็ดจะลีบหมดแต่ถ้าเป็นกับข้าวในระยะแก่ใกล้เก็บเกี่ยวคอรวงจะมีรอยแผลช้า สีน้ำตาลเทา ให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

สาเหตุเชื้อรา Pyricularia oryzae.
การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวนัและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมงอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 องศาเซลเซียส ลมแรงจะช่วยใหโ้รคแพร่กระจายไดดี

สั่งซื้อได้ 3 ช่องทาง
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกเพื่อแอดไลน์ http://line.me/ti/p/~FarmKaset เฟสบุ๊คแชทสั่งซื้อ
https://www.facebook.com/farmkaset มีเจ้าหน้าที่คอยตอบตลอดเวลา
อ่าน:3591
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส

โรคไหม้ (Rice Blast Disease)

พบทุกภาคในประเทศไทย ในข้าวนาสวน ทั้งนาปีและนาปรัง และข้าวไร่

สาเหตุ เชื้อรา Pyricularia oryzae.

.

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้อาการ

.

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

.

ระยะออกรวง (โรคไหม้คอรวง หรือ โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

.

การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง อากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3772
270 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 27 หน้า, หน้าที่ 28 มี 0 รายการ
|-Page 27 of 28-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ยาดม-ยาอม-ยาหอม สู่การส่งออกสมุนไพรไทย
Update: 2565/11/19 13:00:00 - Views: 3403
กำจัดเพลี้ยหอยเกล็ด ศัตรูพืชในต้นทุเรียน มาคา ฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย FK-T อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ โดย FK
Update: 2566/05/25 15:42:36 - Views: 3453
หนอนกัดกินเปลือกยางพารา
Update: 2564/08/18 05:25:23 - Views: 3448
การบำรุงดูแลสวนปาล์มน้ำมันเพื่อเพิ่มผลผลิต ด้วยการใช้ฮิวมิค FK เสริมฟลูวิคและปุ๋ยทางใบ FK-1
Update: 2567/11/06 10:15:44 - Views: 29
ข้าวใบไหม้ ข้าวเน่าคอรวง พบได้ทั้งใน นาปรัง และนาปี มีสาเหตุจากเชื้อรา รักษาด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
Update: 2564/01/09 09:46:14 - Views: 3479
การดูแลสวนลำไยตลอดปี ด้วยฮิวมิคFK (เสริมฟลูวิค) และปุ๋ยทางใบ FK-1 เพื่อการเติบโตและผลผลิตที่สมบูรณ์
Update: 2567/11/09 08:28:55 - Views: 66
โรคไหม้ ระบาดนาข้าว กรมการข้าว เร่งช่วยชาวนา แนะใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานโรค ข้าวใบไหม้
Update: 2564/08/09 10:22:28 - Views: 3978
พืชเป็นโรค หมายความว่าอย่างไร ?
Update: 2564/04/24 02:41:12 - Views: 3386
กำจัดเชื้อรา หน่อไม้ฝรั่ง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/26 10:33:17 - Views: 3399
การให้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบสำหรับต้นพุทรา: วิธีการและสูตรที่เหมาะสม
Update: 2566/11/18 09:03:29 - Views: 3413
ทุเรียนใบไหม้ มีสาเหตุมาจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส ราฝ่อ หยุดลุกลาม
Update: 2563/10/28 14:21:37 - Views: 3706
ฮิวมิค แอซิด: เทคโนโลยีใหม่สำหรับฟื้นฟูระบบรากและปรับปรุงดินในการปลูกมะปราง
Update: 2567/02/13 09:52:05 - Views: 3418
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากเน่า ใน ดอกโป๊ยเซียน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/18 10:34:00 - Views: 3556
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในผักกาดหอม
Update: 2566/05/13 09:57:14 - Views: 3411
โรคราดำทุเรียน ป้องกันราดำทุเรียน แก้ราดำทุเรียน ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
Update: 2565/03/02 00:24:03 - Views: 3399
โรคมันสำปะหลัง มันสำปะหลังขาดธาตุสังกะสี ทำให้โตช้า พบจุดขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบย่น ขาดรุนแรงอาจตายได้
Update: 2564/03/07 00:03:14 - Views: 3558
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืชพริกไทย
Update: 2566/05/06 11:18:43 - Views: 3428
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
Update: 2564/06/17 17:48:13 - Views: 3453
เพิ่มผลผลิตบวบ ปุ๋ยบำรุงบวบ ปุ๋ยน้ำสำหรับบวบ ปลูกบวบ ผลผลิตดี ฉีดพ่น FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/01 04:22:42 - Views: 3410
การดูแลสวนกาแฟเพื่อให้ต้นโตไวและได้ผลผลิตสูง ด้วยฮิวมิค FK เสริมฟลูวิค และปุ๋ยทางใบ FK-1
Update: 2567/11/06 14:24:57 - Views: 23
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022