[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ธาตุหลัก
406 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 40 หน้า, หน้าที่ 41 มี 6 รายการ

โรคไหม้ข้าว โรคข้าวใบไหม้
โรคไหม้ข้าว โรคข้าวใบไหม้
โรคไหม้ (Rice Blast Disease) พบมาก ในนาน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และ ภาคใต้

สาเหตุ เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc.

อาการ

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง ถ้าอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี

การป้องกันกำจัด

ใช้พันธุ์ต้านทานโรค
ภาคกลาง เช่น สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 ชัยนาท 1 ปราจีนบุรี 1
พลายงาม คลองหลวง 1 พิษณุโลก 1

ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สุรินทร์ 1 เหนียวอุบล 2 เหนียวแพร่ สันปาตอง 1
หางยี 71 กู้เมืองหลวง ขาวโปร่งไคร้ น้ำรู

ภาคใต้ เช่น ดอกพะยอม

ข้อควรระวัง : ข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 และชัยนาท 1 ที่ปลูกในภาคเหนือตอนล่าง พบว่า แสดงอาการรุนแรงในบางพื้นที่ และบางปี โดยเฉพาะเมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย เช่น ฝนพรำ หรือหมอก น้ำค้างจัด อากาศเย็น ใส่ปุ๋ยมากเกินความจำเป็น หรือเป็นดินหลังน้ำท่วม

หว่านเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม คือ 15-20 กิโลกรัม/ไร่ ควรแบ่งแปลงให้มีการระบายถ่ายเทอากาศดี และไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงเกินไป ถ้าสูงถึง 50 กิโลกรัม/ไร่ โรคไหม้จะพัฒนาอย่าง
รวดเร็ว

คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน ไตรไซคลาโซล คาร์เบนดาซิม
โพรคลอราซ ตามอัตราที่ระบุ ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาดและพบแผลโรคไหม้ทั่วไป 5 เปอร์เซ็นต์

ของพื้นที่ใบ ควรฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน อีดิเฟนฟอส ไตรไซคลาโซล
ไอโซโพรไทโอเลน คาร์เบนดาซิม ตามอัตราที่ระบุ

ที่มา http://www.farmkaset..link..


ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราสนิมถั่วฝักยาว : RUST DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราสนิมถั่วฝักยาว : RUST DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุ : รา Uromyces appendiculatus var. appendiculatus (Pers.) Unger

ชีววิทยาของเชื้อ : พบเชื้อระยะ uredinium และ telium ที่ด้านบนใบมากกว่าใต้ใบ โดยเกิดใต้ epidermis ของพืช เมื่อเจริญเต็มที่จะดัน epidermis แตกออกมา เห็นผงสปอร์สีน้ำตาลแดงถึงสีดำ เกิด รวมกันเป็นกลุ่ม มีลักษณะเป็นวงกลมซ้อนกันหรืออาจเกิดเดี่ยวๆ กระจายทั่วใบ สปอร์ (urediniospore) 1 เซลล์ เกิดบนก้าน ผนังบาง ใสไม่มีสี ส่วนใหญ่รูปร่างเป็นแบบ obovoid มีบางสปอร์รูปร่างแบบ broadly ellipsoid ขนาด 21.25-28.75 x 18.75-22.50 ไมครอน (เฉลี่ย 25.45 x 20.88 ไมครอน) สีเหลืองทอง ผนังหนาสม่ำเสมอ ผิวผนังเป็นหนามแบบ echinulate มีจุดงอก 2 จุดต่อสปอร์ อยู่ด้านตรงข้ามกัน teliospore 1 เซลล์ รูปร่างแบบ obovoid ellipsoid จนถึงเกือบกลม ขนาด 26.25-35.00 x 23.75-27.50 ไมครอน (เฉลี่ย 31.50 x 25.31 ไมครอน) สีน้ำตาลเข้มบริเวณ apex ยื่นออกไปเป็นติ่งใสไม่มีสีหรือสีน้ำตาลอ่อน ผิวผนังเรียบ มีจุดงอก 1 จุดต่อสปอร์ อยู่บริเวณตรงกลาง apex เกิดบนก้านผนังบาง ใสไม่มีสีหรือสีเหลืองอ่อน

ลักษณะอาการ : เริ่มแรกเกิดเป็นจุดสีเหลืองซีด ต่อมาเป็นตุ่มนูนขนาดเล็กสีน้ำตาลแดง เนื้อใบบริเวณ รอบแผลเป็นวงสีเหลือง ต่อมาแผลขยายใหญ่ขึ้นและแตกปริออก มีผงสปอร์สีน้ำตาลแดง หรือสีน้ำตาลดำ เกิดกระจายทั่วใบ พบทั้งด้านบนใบและใต้ใบ มักเกิดกับใบแก่ทางตอนล่างของลำต้นก่อนแล้วลามขึ้นด้านบน เริ่มพบเมื่อต้นถั่วอยู่ในระยะออกดอก ถ้าเป็นรุนแรงมากจะทำให้ใบแห้งและร่วง

การแพร่ระบาด : โรคแพร่ระบาดโดยสปอร์ของเชื้อราแพร่ไปกับลม น้ำฝน และแมลง สภาพที่เหมาะสม ต่อการระบาดของโรคคืออุณหภูมิปานกลาง-ค่อนข้างสูง ความชื้นสูง ครึ้มฝน หมอกลงจัด น้ำค้างมาก หรือเมื่อมี น้ำเกาะติดอยู่กับใบพืชเป็นเวลานาน

การป้องกันกำจัด :

1. ไม่ปลูกพืชแน่นเกินไป

2. ทำความสะอาดแปลงปลูก กำจัดเศษซากพืชที่เป็นโรค

3. เมื่อพบโรคระบาดในแปลง พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น กำมะถันผงชนิดละลายน้ำ อัตรา 30-40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นสัปดาห์ละครั้ง ไม่ควรใช้ในขณะที่แดดร้อนจัด

4. ปลูกพืชชนืดอื่นหมุนเวียน

5. กำจัดวัชพืช สม่ำเสมอ เพื่อลดความชื้น ลดการแข่งขันกับพืช และช่วยให้แดดส่องถึง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมถั่วฝักยาว โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราแป้งมะเขือเทศ : POWDERY MILDEW DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราแป้งมะเขือเทศ : POWDERY MILDEW DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุของ โรคราแป้งมะเขือเทศ : รา Oidiopsis sp. ชีววิทยาของเชื้อ : เชื้อราสาเหตุโรคราแป้งเป็นปรสิตถาวรคือ ตลอดวงจรชีวิตจะต้องอาศัยเจริญเติบโต บนสิ่งที่มีชีวิตเท่านั้น ไม่สามารถนำมาเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ได้ ราสร้างเส้นใยและกลุ่มของสปอร์บนผิวใบพืช ที่มันเข้าทำลาย แล้วส่งเส้นใยพิเศษเข้าไปอยู่ในเซลล์ใต้ผิวใบ เกิดขึ้นได้ทั้งบนใบและใต้ใบ ราพวกนี้เข้า ทำลายพืชเพียงผิวตื้นๆ แค่ใต้ผิวใบ หลังจากนั้นสปอร์เมื่อแก่จะถูกปล่อยสู่สภาพแวดล้อมในอากาศ ในน้ำ ในดินต่อไป

ลักษณะอาการ : มองเห็นเป็นปุยของกลุ่มสปอร์และเส้นใยสีขาว-เทาที่เชื้อราสร้างขึ้น บนผิวใบ มี ลักษณะเป็นผงสีขาวคล้ายแป้งฝุ่นหรือผงชอล์กปกคลุมทั่วไป อาการเริ่มแรกมักเป็นหย่อมๆ แล้วขยาย จนเต็มใบ ถ้าเป็นรุนแรงจะทำให้ใบแห้งตาย อาการส่วนใหญ่มักเกิดกับใบอ่อนและยอดอ่อน ทำให้ได้รับ ความเสียหายมากกว่าส่วนที่เจริญเต็มที่แล้ว ในสภาพอากาศเย็นจะลุกลามไปที่กิ่งได้

การแพร่ระบาด : มักเข้าทำลายพืชที่มีอายุค่อนข้างมากหรือใกล้เก็บเกี่ยว เนื่องจากราสาเหตุมีพืชอาศัย ค่อนข้างมาก และมีการปลูกอยู่ตลอดฤดู หรือมีการปลูกเกือบตลอดทั้งปี ดังนั้นแหล่งกำเนิดของราเพื่อ การแพร่ระบาดจึงเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา สปอร์แพร่กระจายโดยลม ไปทางอากาศ ติดไปกับแมลง ในฤดูหนาว ช่วงกลางคืนเย็นและมีความชื้นสูง ตอนเช้ามีหมอก เวลากลางวันอุ่นถึงร้อน เป็นสภาพที่เหมาะสม ราเข้า ทำลายมะเขือเทศได้รุนแรงในสภาพอากาศแห้ง อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการงอกของสปอร์ 15-25 องศาเซลเซียส ระยะฟักตัวอยู่ระหว่าง 10-12 วัน

การป้องกันกำจัด :

ควบคุมโรคราแป้งโดยตัดแต่งกิ่ง ใบ ให้ทรงต้นโปร่ง เก็บรวบรวมเศษซากพืชที่เป็นโรคเผาทำลาย เพื่อลดการแพร่กระจายของโรค ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์ทุกครั้งที่ตัดแต่ง หรือใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืช ผสมน้ำพ่นในระยะที่มีการระบาดของราอย่างสม่ำเสมอ

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคแอนแทรคโนสพริก : ANTRACNOSE DISEASE
โรคแอนแทรคโนสพริก : ANTRACNOSE DISEASE
เชื้อสาเหตุของ โรคแอนแทรคโนสพริก : เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. และ C capsici (Syd.) E.J. Butler

ชีววิทยาของเชื้อ : C. gloeosporioides สปอร์มีรูปร่างทรงกระบอก ปลายโค้งถึงรูปไข่ ไม่มีสี มีเซลล์เดียว เกิดบน conidiophore ใน fruiting body เรียกว่า acervulus สำหรับรา C. capsici สปอร์มีรูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ไม่มีสี มีเซลล์เดียว เกิดบน conidiophore ใน fruiting body เรียกว่า acervulus พบราชนิดนี้สร้าง setae จำนวนมาก

ลักษณะอาการ : อาการของโรคมักพบบนผลพริกที่เริ่มสุก หรือระยะก่อนที่ผลพริกจะเปลี่ยนสี อาการ เริ่มแรกจะปรากฏเป็นวงกลมช้ำสีน้ำตาล เนื้อเยื่อบุ๋มลึกลงไปจากระดับเดิมเล็กน้อย และจะค่อยๆ ขยาย กว้างออกไปเป็นวงกลมหรือวงรีรูปไข่ ซึ่งมองเห็นลักษณะของราที่เจริญภายใต้เนื้อเยื่อของพืชขยายออก ไปในลักษณะที่เป็นวงกลมสีดำซ้อนกันเป็นชั้น เมื่อมีความชื้นจะเห็นเป็นเมือกเยิ้มสีส้มอ่อนๆ บริเวณแผล บนผลพริก ทำให้แผลขยายตัวและผลพริกจะเน่าและร่วงก่อนเก็บเกี่ยว ผลพริกที่เป็นโรคนี้เมื่อนำไป ตากแห้งจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองซีด

การแพร่ระบาด : พบระบาดมากในสภาพที่มีความชื้นสูงหรือมีฝนตก โดยเฉพาะในช่วงที่กำลังให้ ผลผลิต และโรคจะระบาดรุนแรงในพื้นที่ปลูกที่ขาดความเอาใจใส่และดูแล ความเสียหายในแต่ละท้องที่ มีความแตกต่างกันตามชนิดของเชื้อสาเหตุ และเชื้อราสามารถติดไปกับเมล็ดพริกได้

การป้องกันกำจัด :

1. คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์จากผลพริกที่ไม่เป็นโรคมาปลูก

2. การปลูกไม่ควรปลูกระยะชิดมากเกินไปจะทำให้ต้นแน่น การถ่ายเทอากาศไม่สะดวก และมี ความชื้นสะสมในแปลงปลูก โรคจะระบาดได้ง่ายและรวดเร็ว

3. กำจัดและเก็บผลพริกที่เป็นโรคแอนแทรคโนสจากแปลงทิ้งให้หมด สามารถลดปริมาณของ เชื้อสาเหตุ ซึ่งจะทำให้เป็นต้นกำเนิดของการเกิดโรคในฤดูปลูกต่อๆ ไป

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
มะเขือเทศใบไหม้ โรคมะเขือเทศ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
มะเขือเทศใบไหม้ โรคมะเขือเทศ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
เชื้อสาเหตุของ โรคใบไหม้ในมะเขือเทศ เกิดจาก รา Phytophthora infestans_ ชีววิทยาของเชื้อ : การเลี้ยงรา P. infestans ในอาหารสังเคราะห์ทำได้ยาก อาจเป็นเพราะมีการ วิวัฒนาการ เข้าไปใกล้พวกราน้ำค้าง ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม อากาศเย็น อุณหภูมิต่ำ ฝนตกชุก มีความชื้น สูง ราสร้างสปอร์แรงเจียเป็นจำนวนมาก เมื่อสปอร์มีอายุจะหลุดง่าย แพร่กระจายโดยลมและฝน ภายใน สปอร์ยังสามารถสร้างสปอร์มีหางจำนวนมาก แล้วปล่อยออกมาเข้าทำลายพืชได้อีกด้วย

ลักษณะอาการ : โรคมักเกิดบริเวณใบล่างของต้น บริเวณด้านบนของใบ เป็นจุดช้ำสีเขียวเข้มแสดง อาการใบไหม้ ส่วนด้านล่างของใบเหมือนใบถูกน้ำร้อนลวก รอยช้ำนี้ขยายขนาดออกไปอย่างรวดเร็ว พบเส้นใย และกลุ่มสปอร์สีขาวอยู่รอบๆ รอยช้ำ เมื่อเชื้อเจริญมากขึ้นใบจะแห้ง ในบางครั้งโรคแสดงอาการที่ส่วน ของกิ่งและลำต้น โดยมีลักษณะเป็นจุดช้ำน้ำ แผลสีดำเช่นเดียวกับที่ใบ ถ้าเกิดเป็นแผลที่โคนกิ่งจะทำให้บริเวณ ส่วนยอดของกิ่งนั้นแสดงอาการเหี่ยวเฉาเนื่องจากน้ำและอาหารส่งไปเลี้ยงส่วนยอดได้ไม่เต็มที่ หากทำลาย อย่างรุนแรงจะตายภายใน 1 สัปดาห์

การแพร่ระบาด : โรคลุกลามอย่างรวดเร็วจากใบหนึ่งไปยังอีกใบหนึ่ง จากต้นที่เป็นโรคไปยังต้นที่อยู่ ใกล้เคียง เกิดการระบาดได้รวดเร็วและรุนแรงในสภาพอากาศเย็นอุณหภูมิประมาณ 18 อาศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่า 90 % เชื้อราสามารถยังชีพอยู่ในเศษซากพืชที่ ตกค้างอยู่ในดินและยังสามารถอาศัย และขยายพันธุ์ได้ในดิน ตลอดจนสามารถแพร่ขยายได้โดยน้ำ แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วหลังฝนตก

การป้องกันกำจัด โรคราต่างๆ
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#มะเขือเทศใบไหม้ #โรคามะเขือเทศ #ราน้ำค้างบวบ #ราแป้งบวบ #ราแป้งซูกินี่ #ราน้ำค้างซูกินี่ #ราน้ำค้างองุ่น #ราแป้งองุ่น #แอนแทรคโนสองุ่น #ราน้ำค้างแคลตาลูป #ราน้ำค้างเมล่อน #ราน้ำค้างข้าวโพด #ราน้ำค้างถั่วเหลือง #ราน้ำค้างกะหล่ำปลี #ราน้ำค้างฟักแม้ว #ราน้ำค้างฟักเขียว #ราน้ำค้างแตงกวา #ราน้ำค้างมะระจีน #ราน้ำค้างฟักทอง #ข้าวไหม้คอรวง #ข้าวเน่าคอรวง #ข้าวขาดคอรวง #โรคข้าว #แตงโมเถาเหี่ยว #ราน้ำค้างแตงโม #แตงโมใบไหม้ #โรคพืช #โรคใบไหม้ #โรคราสนิม #โรคใบติด #ทุเรียนใบติด #โรคราน้ำค้าง #แอนแทรคโนส #ไฟธอปโทร่า #โรคกุ้งแห้ง #โรคใบจุด #ราแป้ง #โรคเหี่ยว

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
โรคใบไหม้มะเขือเทศ มะเขือเทศใบไหม้ [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคใบไหม้มะเขือเทศ มะเขือเทศใบไหม้ [ ไอเอส + FK-1 ]
จากสภาพอากาศเย็น มีหมอกในตอนเช้า และมีความชื้นสูงระยะนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมะเขือเทศเฝ้าระวังโรคใบไหม้ ที่สามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของมะเขือเทศ

เริ่มแรกจะพบอาการของโรคที่ใบล่างก่อน และด้านบนใบพบแผลฉ่ำน้ำสีเขียวหม่นคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ตรงกลางแผลแห้งเป็นสีน้ำตาล บริเวณขอบแผลฉ่ำน้ำมีสีดำ เมื่อพลิกดูด้านใต้ใบบริเวณตรงกันจะพบส่วนของเชื้อราสาเหตุโรคสีขาว และแผลจะลุกลามออกไปทำให้ใบไหม้แห้งเป็นสีน้ำตาลในที่สุด หากสภาพแวดล้อมเหมาะสมมีความชื้นสูง หรือในสภาพที่มีหมอกลงจัด โรคจะลุกลามอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้จะพบอาการโรคที่ส่วนของลำต้น กิ่ง และผล หากเกิดแผลที่ลำต้นหรือโคนกิ่ง จะทำให้ส่วนยอดแสดงอาการเหี่ยวเฉา

เนื่องจากพืชไม่สามารถลำเลียงน้ำและอาหารได้ ต่อมากิ่งหรือต้นจะแห้งตาย หากโรคเข้าทำลายที่ผลจะทำให้ผลเน่า เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคใบไหม้มันฝรั่ง (Leaf blight) มันฝรั่งใบไหม้ [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคใบไหม้มันฝรั่ง (Leaf blight) มันฝรั่งใบไหม้ [ ไอเอส + FK-1 ]
เกิดเป็นจุดช้ำคล้ายถูกน้ำร้อนลวก บริเวณแผลเป็นสีเขียวหม่น ด้านใต้ใบตรงที่แสดงอาการคล้ายน้ำร้อนลวกนี้จะมองเห็นคล้ายเป็นละอองน้ำเล็กๆสีขาวติดใสอยู่ โดยเฉพาะบริเวณขอบแผล บริเวณที่แสดงอาการคล้ายถูกน้ำร้อนลวกนี้จะค่อยๆแห้งกลายเป็นสีน้ำตาล ในขณะเดียวกันขนาดของแผลจะขยายใหญ่ออกไปเรื่อยๆจนเกือบจะทั่วใบ และใบนั้นจะแห้งไหม้เป็นสีน้ำตาลในที่สุด

เชื้อสาเหตุ :เกิดจากเชื้อรา Phytophthora infestans

ลักษณะอาการ :เกิดเป็นจุดช้ำคล้ายถูกน้ำร้อนลวก บริเวณแผลเป็นสีเขียวหม่น ด้านใต้ใบตรงที่แสดงอาการคล้ายน้ำร้อนลวกนี้จะมองเห็นคล้ายเป็นละอองน้ำเล็กๆสีขาวติดใสอยู่ โดยเฉพาะบริเวณขอบแผล บริเวณที่แสดงอาการคล้ายถูกน้ำร้อนลวกนี้จะค่อยๆแห้งกลายเป็นสีน้ำตาล ในขณะเดียวกันขนาดของแผลจะขยายใหญ่ออกไปเรื่อยๆจนเกือบจะทั่วใบ และใบนั้นจะแห้งไหม้เป็นสีน้ำตาลในที่สุด อาการของโรคจะลุกลามอย่างรวดเร็วจากใบหนึ่งไปยังอีกใบหนึ่ง และจากต้นที่เป็นโรคไปยังต้นที่อยู่ใกล้เคียง จึงมักจะมองเห็นการเกิดโรคกระจายเป็นหย่อมๆ ในบางครั้งโรคนี้แสดงอาการที่ส่วนของลำต้น ซึ่งจะแสดงอาการใกล้เคียงกับอาการบนใบ ทำให้ลำต้นหรือกิ่งแห้งตายอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้เชื้อของสาเหตุของโรคนี้ยังสามารถเข้าทำลายที่หัว ทำให้เกิดอาการหัวเน่าได้ด้วย

โรคนี้เกิดระบาดได้รวดเร็วและรุนแรงในสภาพอากาศเย็น อุณหภูมิประมาณ 18 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสูงมาก เชื้อราสามารถยังชีพอยู่ในเศษซากพืชที่ตกค้างอยู่ในดิน นอกจากนั้นเชื้อราสาเหตุยังสามารถอยู่อาศัยและขยายพันธุ์ได้ในดินตลอดจนสามารถแพร่กระจายได้โดยน้ำ

การป้องกันและกำจัด

1. พยายามลดความชื้นในแปลงปลูกเมื่ออุณหภูมิเหมาะสม

2. เมื่อพบต้นที่แสดงอาการโรคควรรีบถอนออกเผาทำลาย

3. ถ้าสามารถปฏิบัติได้ควรหลีกเลี่ยงการปลูกมันฝรั่งในบริเวณที่เคยมีโรคระบาด

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) : LEAF BLIGHT DISEASE
โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) : LEAF BLIGHT DISEASE
เชื้อสาเหตุ : รา Phythopthora colocasiae Rac ชีววิทยาของเชื้อ : เชื้อสร้างเส้นใยบนอาหารแข็ง CA เป็นเส้นตรง กิ่งก้านแยกออกไปไม่สม่ำเสมอ เส้นใยใสไม่มีสี ไม่มีผนังกั้น ผิวผนังเรียบ ลักษณะโคโลนีคล้ายเส้นใยแมงมุม เชื้อเจริญเต็มจานเลี้ยงเชื้อเมื่ออายุ 3-5 วัน สร้าง sporangia รูปยาว หรือรูปไข่ มีปุมนูนไม่เด่นชัด (semipapillate) บนสปอร์ L:B = 1.6:1 เมื่อสปอร์มีอายุจะหลุดง่าย แพร่กระจายโดยลมและฝน ภายในสปอร์ยังสามารถสร้างสปอร์มีหางจำนวนมาก แล้วปล่อยออกมา เข้าทำลายพืชได้อีกด้วย

ลักษณะอาการ : อาการบนใบเกิดจุดสีน้ำตาลฉ่ำน้ำ ต่อมาจุดแผลเหล่านั้นขยายใหญ่ขึ้น เกิดอาการ ใบไหม้เป็นวงๆ ซ้อนๆ กัน เป็นชั้นๆ ลักษณะคล้ายดวงตา บริเวณขอบแผลที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันจะพบ เนื้อเยื่อสีเหลืองล้อมรอบ ในระยะที่รุนแรงแผลขยายติดต่อกัน และทำให้ใบม้วนพับเข้าและแห้งเหี่ยว หรืออาจเน่าเละถ้าอากาศชื้นมีฝนพรำ หากเกิดโรครุนแรง พบอาการบนก้านใบ เกิดแผลฉ่ำน้ำสีน้ำตาลอ่อน แผลขยายใหญ่ขึ้นเป็นวงๆ เช่นกัน ต่อมาจะเน่า แห้ง เป็นสีน้ำตาลหรือสีดำ ก้านต้านทานน้ำหนักใบไม่ได้ จึงหักพับ ทำให้ใบแห้ง ผลผลิตลดลง และเชื้ออาจเข้าทำลายหัวเผือก ทำให้หัวเผือกเน่าเสียหายได้

การแพร่ระบาด : ความชื้นสูงและอุณหภูมิต่ำมีผลต่อการเกิดโรค ทำให้โรคมีการระบาดรุนแรง หากช่วงที่ได้รับเชื้อ มีฝนตกพรำตอนใกล้รุ่ง และตอนเช้าติดต่อกัน มีฝนพรำทั้งวัน และมีลมอ่อนๆ เนื่องจาก สภาพดังกล่าวเหมาะสมต่อการสร้างสปอร์เชื้อรา ซึ่งเชื้อสร้างสปอร์บนใบเผือกได้ดีหากมีความชื้นสูง (90-100%) และอุณหภูมิต่ำ (20-25%) เกษตรกรมักนิยมปลูกเผือกตามคันสวนผักหรือปลูกในที่ลุ่มมีน้ำขังแฉะ ทำให้มี ความชื้นสูง การระบาดของโรคจึงเกิดง่ายตลอดปี

การป้องกันกำจัด :

เก็บเศษซากพืชหรือส่วนที่เป็นโรคออกไปเผาทำลาย ปลูกพืชในพื้นที่ดินที่มีการ ระบายน้ำได้ดี ไม่เป็น ที่น้ำขังและไม่ปลูกแน่นจนเกินไป

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ (Cassava Bacterial Blight : CBB)
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ (Cassava Bacterial Blight : CBB)
เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้ขาดแหล่งโปรตีนและไวตามินที่สำคัญสำหรับประชากรในบางประเทศ เนื่องจากคนเหล่านั้นรับประทานใบมันสำปะหลังแทนผัก ฉะนั้น โรคใบไหม้จึงมีความสำคัญเป็นอันดับ 1 ในแถบอัฟริกา และลาตินอเมริกา สำหรับประเทศทางแถบเอเชีย เช่น ประเทศจีน และประเทศไทย ความเสียหายจัดอยู่ในระดับปานกลาง

ลักษณะอาการเริ่มแรก

แสดงอาการใบจุดเหลี่ยมฉํ่านํ้า ใบไหม้ ใบเหี่ยว ยางไหลจนถึงอากยอดเหี่ยวและแห้งตายลงมา นอกจากนี้ยังทำให้ระบบท่อนํ้าอาหารของลำต้นและรากเน่า

ท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค

แสดงอาการ คือ ยอดที่ผลิตใหม่ เหี่ยว มียางไหล และมีอาการแห้งตายจากยอดอย่างรวดเร็ว และแพร่ระบาดไปยังต้นข้างเคียง ซึ่งมักจะแสดงอาการเป็นจุดชํ้าเล็กที่ต้นแล้วแผลขยายใหญ่เปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลเข้มลุกลามเป็นแผลใหญ่ บางครั้งจะพบวงสีเหลือง (yellow halo) ลามเป็นใบไหม้ และใบร่วง ลำต้นแห้งตาย เมื่อผ่าดูระบบท่อนํ้าและอาหารทั้งของลำต้น และรากจะมีสีคลํ้า เนื่องจากเนื้อเยื่อของส่วนนี้ถูกทำลาย ในบางครั้งจะพบอาการยางไหลบนส่วนลำต้นที่ยังอ่อนหรือก้านใบ และแผลจุดบนใบ พบระบาดมากได้ในช่วงฤดูฝน

การแพร่ระบาดของโรคที่สำคัญ

คือ ติดไปกับท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค แพร่กระจายไปโดยฝนหรือกับดิน หรือกับเครื่องมือที่ใช้ในการเกษตร เช่น มีดที่ใช้ในการตัดท่อนพันธุ์ ในบางประเทศมีรายงานว่า แมลงเป็นตัวการในการแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุของโรคสามารถอยู่รอดในดินบนเศษซากพืชได้นานกว่า 2 ปี

การป้องกันกำจัด

1. ใช้พันธุ์ต้านทาน พันธุ์ที่แนะนำในปัจจุบัน มีความต้านทานต่อโรคปานกลาง

2. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อ

3. ปลูกพืชอายุสั้นเป็นพืชหมุนเวียน หรือหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในแปลงที่ระบาดรุนแรงนาน 6 เดือน

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
การใช้ปูนขาว กำจัด โรคข้าวใบไหม้
การใช้ปูนขาว กำจัด โรคข้าวใบไหม้
กำจัดโดยนำปูนขาว1กก.+ น้ำ5ลิตร หมัก1คืน นำมาผสมกับน้ำ20ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงนาบริเวณที่มีการระบาดของโรค

ช่วงนี้เกษตรกรเริ่มปลูกข้าว ส่วนใหญ่ในทุกพื้นที่จะประสบปัญหาเกี่ยวกับโรคที่เกิดกับข้าวที่ปลูก โดยเฉพาะโรคใบไหม้ที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรเกือบทุกพื้นที่ เกษตรกรบางส่วนไม่ทราบถึงวิธีการป้องกันและกำจัดจึงนำสารเคมีมาใช้ในนาข้าวเพื่อกำจัดโรคซึ่งจะทำให้เกิดผลเสียต่างๆมากมายตามมา จึงอยากแนะนำวิธีการป้องกันและกำจัดโรคใบไหม้ในข้าวด้วยวิธีการง่ายๆ ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

กรณี คุณเลย อินต๊ะนางแล เกษตรกรผู้ปลูกข้าวทั้งนาปีและนาปรัง แต่มักประสบปัญหาเรื่องโรคใบไหม้ในข้าวอยู่เป็นประจำทุกปี จึงได้สอบถามมายังรายการวิทยุร่วมด้วยช่วยกันจังหวัดเชียงรายถึงสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ในข้าว

ทีมงานประสานไปยัง คุณหวัน เรืองเตื้อ เครือข่ายเกษตรกรสำนึกรักบ้านเกิด กิ่ง อ.ภูเพียง จ.น่าน กล่าวว่าลักษณะของโรคนี้ในระยะกล้าจะมีแผลที่ใบข้าวเป็นสีน้ำตาลรูปวงรีคล้ายตา และมีสีเทาอยู่กลางแผล เชื้อของโรคนี้สามารถกระจายไปได้โดยลมและน้ำ นอกจากนี้ยังระบาดทำความเสียหายแก่ต้นข้าวได้ทุกระยะตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอจนถึงระยะออกรวง เชื้อจะระบาดได้รวดเร็วมาก

สาเหตุของโรคใบไหม้ในข้าวมีดังนี้คือ

1.สภาพอากาศโดยทั่วไปมีฝนตกติดต่อกันหลายวัน ความชื้นในอากาศสูงเหมาะแก่การเจริญเติบโตของเชื้อราและไวรัส ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคไหม้ข้าว

2.มีสาเหตุมาจากเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ไม่ต้านทานโรค เพราะฉะนั้นเกษตรกรควรเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ได้รับการรับรองจากกรมวิชาการเกษตรหรือเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มาจากแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ที่เชื่อถือได้

3.สาเหตุมาจากเกษตรใส่ใส่ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจน (ยูเรีย) มากเกินกว่าที่พืชต้องการ

การใช้ปูนขาวกำจัดโรคข้าวใบไหม้

วิธีการป้องกันและกำจัดโรค

ให้นำปูนขาว 1 กิโลกรัมผสมน้ำ 5 ลิตร หมักไว้ 1 คืน หลังจากนั้นนำมาผสมกับน้ำ 20 ลิตร ใช้ฉีดพ่นในนาข้าวให้ทั่วในบริเวณที่โรคระบาด (ปริมาณที่ใช้ขึ้นอยู่กับการระบาดของโรค)

ในกรณีที่แปลงโรคใบไหม้ระบาดจนทั่วทั้งแปลงนาให้ใช้ปูนขาว 50 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 1 ไร่ หว่านให้ทั่วก่อนปลูกข้าว จึงขอเตือนเกษตรกรให้ระมัดระวังเป็นพิเศษ โดยหมั่นสำรวจแปลงกล้า หากพบลักษณะของโรคไหม้เกินร้อยละ 5 ของพื้นที่แปลงกล้า ควรลดปริมาณน้ำในแปลงกล้าจนแห้ง และงดการใส่ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจนทันที

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
406 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 40 หน้า, หน้าที่ 41 มี 6 รายการ
|-Page 27 of 41-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปุ๋ย เอฟเค 1 ไอเอส มาคา ไอกี้-บีที อาการใบเหลืองในทุเรียน และพืชอื่นๆ
Update: 2567/06/27 08:54:32 - Views: 257
ช่วงนี้ระวัง โรคพืชจากเชื้อรา โรคใบไหม้ ไฟท็อปธอร่า แอนแทรคโนส ใบจุด รากเน่า
Update: 2567/05/21 13:48:04 - Views: 3550
แพนน่อน แมนโคเซป: ป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อรา
Update: 2567/10/22 12:45:47 - Views: 38
โรคยางพาราใบไหม้ ใบจุด ไฟท็อปโธร่า โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/28 04:19:59 - Views: 3457
โรคเชื้อราในต้นมะพร้าว เร่งป้องกันกำจัดก่อนจะเป็นแบบนี้
Update: 2567/05/20 07:50:31 - Views: 3586
ปุ๋ย สำหรับนาข้าว ดูแลตลอดช่วงอายุ เพิ่มผลผลิตข้าว
Update: 2567/11/05 08:42:01 - Views: 26
ปลูกมันสำปะหลัง ใช้ ฮิวมิคFK บำรุงราก แทงหัวไว โตสมบูรณ์ ดินดี ปลูกอะไรก็งาม
Update: 2567/10/22 09:41:40 - Views: 41
โรคราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ เกิดได้กับหลายพืช เร่งควบคุม ป้องกัน กำจัด ลดความเสียหายต่อพืช
Update: 2566/11/04 09:41:04 - Views: 8887
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง สายเขียว และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/08 12:38:27 - Views: 3441
การป้องกัน กำจัดเพลี้ย กำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วย ชีวภัณฑ์ บิวเวอเรีย และ เมธาไรเซียม ได้ผลดี และปลอดภัย
Update: 2566/11/10 06:26:57 - Views: 9563
วิธีดูแลไร่ ข้าวโพด ให้ได้ผลผลิตสูง
Update: 2567/11/07 08:55:50 - Views: 68
การจัดการและควบคุมเพลี้ยในการเพาะปลูกถั่วเหลือง
Update: 2566/11/18 13:49:18 - Views: 3416
แพนน่อนแก้เชื้อรา โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ได้กับพืชทุกชนิด สั่งซื้อ โทร 090-592-8614
Update: 2567/09/20 07:17:15 - Views: 100
การปลูกหอมแดง ให้ผลผลิตดี ใช้ ฮิวมิคFK ตามระยะการเจริญเติบโต
Update: 2567/11/17 09:34:30 - Views: 21
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
Update: 2563/05/21 09:25:27 - Views: 3476
มะม่วงเจริญเติบโตได้ดี และให้ผลผลิตสูง ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม ซิงค์ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ
Update: 2566/11/10 07:07:37 - Views: 9840
เพลี้ย ต่างๆใน ไร่อ้อย ใช้ โล่ปลาดาว ไทอะมีทอกแซม
Update: 2567/10/25 10:09:41 - Views: 34
ปุ๋ยที่ออกแบบมาสำหรับ นาข้าว ไร่มันสำปะหลัง ไร่อ้อย โดยเฉพาะ
Update: 2567/05/16 09:03:11 - Views: 3450
การป้องกันและกำจัด โรคราสนิมในอ้อย ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/07 07:59:52 - Views: 3435
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 10418
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022