[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - โรคราน้ำค้าง
262 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 26 หน้า, หน้าที่ 27 มี 2 รายการ

เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
โรคราน้ำค้างเมล่อน (Downy Mildew) เกิดจากเชื้อ Pseudoperonospora cubensis (Berkeley & Curtis) Roslowzew
อาการของโรค ราน้ำค้างในเมล่อน จะเกิดจุดสีน้ำตาล หรืออาจจะเป็นสีเหลือง เป็นจุดเล็กๆ และค่อยขยายใหญ่ขึ้น ขอบใบจะค่อยๆม้วนและร่วง

โรคเหี่ยว ในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Fusarium oxysporum f.sq. melonis ใบเมล่อนเหี่ยว เป็นสีเหลืองจากยอดลงมา ซอกใบเน่า โคนเน่า และตายในที่สุด

โรคราแป้งในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Erysiphe cichoracearum De candolle Sphaerotheca fuliginea อาการที่สังเกตุได้ จะเป็นจุดเหลืองที่ยอดอ่อน ลำต้น และจุดเหลืองจะใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ใบแห้งตาย

เมล่อนต้นแตก เมล่อนยางไหล เกิดจากเชื้อรา Mycosphaerella melonis จะเกิดจุดวงกลมสีน้ำตาล หรือสีดำ จากขอบใบและขยายสู่กลางใบ จนทำให้ใบร่วง

โรคเมล่อนต่างๆ ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส เพื่อยังยั้งการระบาดของเชื้อรา ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรค และกลับมาเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี

แมลหวีขาว เป็นพาหะนำโรคมาติดสู่เมล่อนในแปลงของเรา เป็นแมลงศัตรูพืชที่ต้องกำจัด

เพลี้ยไฟเมล่อน สามารถระบาดแพร่กระจายตัวได้อย่างรวดเร็ว การพัดของกระแสลม ทำให้เพลี้ยระบาดไปได้ในพื้นที่กว้าง เพลี้ยไฟจะเข้าทำลายโดยการดูดน้ำเลี้ยง ทำให้ผลเมล่อนแคระ ไม่โต ต้นเมล่อนอ่อนแอ แห้งตายได้

ฉีดพ่นด้วย มาคา เพื่อกำจัดเพลี้ย และแมลงหวีขาว ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของแมลง

แมลงวันทอง จะเจาเข้าไปในผลเมล่อน เพื่อวางไข่ เป็นการเข้าทำลายเมล่อนโดยตรง

กำจัดหนอนต่างๆในเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ป้องกันกำจัดหนอน ผสมด้วย FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน

ยาอินทรีย์ป้องกันและกำจัดโรค แนะนำ สำหรับ เมล่อน

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3483
ยาแก้ฟักทองใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยฟักทอง ยาอินทรีย์รักษาโรคฟักทอง ปุ๋ยเร่งน้ำหนักฝักทอง
ยาแก้ฟักทองใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยฟักทอง ยาอินทรีย์รักษาโรคฟักทอง ปุ๋ยเร่งน้ำหนักฝักทอง
ฟักทองยอดม้วน ยอดหดสั้น ปล้องถี่ ยอดตั้ง ฟักทองใบหงิก ใบด่าง เกิดจากเพลี้ยไฟดูดน้ำเลี้ยง สามารถป้องกันและกำจัดได้ โดยการฉีดพ่น มาคา สารอัลคาลอยด์ป้องกันและกำจัดแมลง ปลอดสารพิษ ปลอดภัยกับทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

โรคเหี่ยวฟักทอง ฟักทองใบเหี่ยว ฟักทองใบไหม้ โรคราน้ำค้างฟักทอง ฟักทองเถาเหี่ยว ฟักทองผลเน่า โรคฟักทองต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ปลอดสารพิษ

อาการ ฟักทองใบเหลือง ฟักทองแคระ ไม่โต ขาดธาตุ โตช้า ฉีดพ่นด้วย FK-1 ปุ๋ยที่ประกอบด้วยธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม อย่างครบถ้วน ตามที่ฟักทองต้องการ

เร่งฟักทองให้ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดี หลังจากฟักทอง ถูกเข้าโจมตีจากโรครา หรือแมลงศัตรูพืช ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมๆกันกับตัวยา ฟักทองจะกลับมาเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว แตกยอดใหม่ แตกใบใหม่ ใบเขียว โตไว้ มีความสมบูรณ์แข็งแรง และติดผลมากขึ้น

เมื่อฟักทองติดผล สามารถเร่งผลฟักทองให้โตเร็ว ขยายขนาดผลให้ใหญ่ มีน้ำหนักดี รสชาติดี ผลสมบูรณ์ มีคุณภาพสูง ฉีดพ่นด้วย FK-3 สูตรสำหรับเร่งผลฟักทอง ที่ให้โพแตสเซียมสูงถึง 40% เพื่อเร่งผลให้โต ใหญ่ น้ำหนักดี คุณภาพดี ขายได้ราคา

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3583
ยาแก้เพลี้ย ใน ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ กวางตุ้งดอกฮ่องกง ยากำจัดหนอน ยาแก้โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ และ ปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตุ้ง
ยาแก้เพลี้ย ใน ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ กวางตุ้งดอกฮ่องกง ยากำจัดหนอน ยาแก้โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ และ ปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตุ้ง
ยายับยั้งและป้องกัน โรคใบไหม้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ยาแก้เพลี้ย ยากำจัดหนอน และปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตั้ง กวางตุ้งฮ่องเต้ และ กวางตุ้งดอกฮ่องกง

หนอนใยผัก ใน ผัก กวางตุ้ง และหนอนคืบกะหล่ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยอ่อน ผัก กวางตุ้ง และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราน้ำค้าง ใน ผัก กวางตุ้ง

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า ผัก กวางตุ้ง แคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

โรคใบไหม้ ใน ผัก กวางตุ้ง

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้ ผัก กวางตุ้ง แคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

การป้องกันและยับยั้ง โรค ผัก กวางตุ้ง ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:4306
แก้โรคและแมลง กะหล่ำดาว เพลี้ยกะหล่ำดาว ยาแก้กะหล่ำดาวใบไหม้ และโรคราต่างๆ ปุ๋ยกะหล่ำดาว
แก้โรคและแมลง กะหล่ำดาว เพลี้ยกะหล่ำดาว ยาแก้กะหล่ำดาวใบไหม้ และโรคราต่างๆ ปุ๋ยกะหล่ำดาว
เพลี้ยอ่อน กะหล่ำดาว และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำดาว ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนใยผัก ในกะหล่ำดาว และหนอนคืบกะหล่ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำดาว ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราน้ำค้าง ในกะหล่ำดาว

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า กะหล่ำดาวแคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

โรคใบไหม้ ในกะหล่ำดาว

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้กะหล่ำดาวแคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำดาว ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำดาว ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)


ภาพจาก
health.mthai.com/ howto/health-care/28739.html
อ่าน:3374
แก้บร็อคโคลี่ใบไหม้ ราน้ำค้าง โรคต่างๆจากเชื้อรา ยากำจัดหนอนบร็อคโคลี่ ยาแก้เพลี้ยบร็อคโคลี่ ปุ๋ย สำหรับ บร็อคโคลี่
แก้บร็อคโคลี่ใบไหม้ ราน้ำค้าง โรคต่างๆจากเชื้อรา ยากำจัดหนอนบร็อคโคลี่ ยาแก้เพลี้ยบร็อคโคลี่ ปุ๋ย สำหรับ บร็อคโคลี่
บร็อคโคลี่ใบไหม้ โรคใบไหม้ บร็อคโคลี่

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้บร็อคโคลี่แคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

โรคราน้ำค้าง บร็อคโคลี่

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า บร็อคโคลี่แคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

การป้องกันและยับยั้ง โรคบร็อคโคลี่ ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนใยผัก บร็อคโคลี่ และหนอนคืบกะหล่ำ ที่พบใน บร็อคโคลี่

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ บร็อคโคลี่ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยอ่อน บร็อคโคลี่ และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ใน บร็อคโคลี่ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ย บร็อคโคลี่ สำหรับเร่งผลผลิต บร็อคโคลี่ ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3516
ยาแก้หนอน กะหล่ำดอก ยาแก้โรคราน้ำค้าง โรคกะหล่ำใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำดอก และปุ๋ยเร่งโต บำรุงกะหล่ำดอก
ยาแก้หนอน กะหล่ำดอก ยาแก้โรคราน้ำค้าง โรคกะหล่ำใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำดอก และปุ๋ยเร่งโต บำรุงกะหล่ำดอก
โรคราน้ำค้าง ในกะหล่ำดอก

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า กะหล่ำดอกแคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

โรคใบไหม้ ในกะหล่ำดอก

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้กะหล่ำดอกแคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำดอก ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนใยผัก ในกะหล่ำดอก และหนอนคืบกะหล่ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำดอก ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยอ่อน กะหล่ำดอก และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำดอก ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำดอก ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3489
ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี
ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี
โรคกะหล่ำปลี ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา

โรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี

ใบเลี้ยงจะเกิดแผลจุดสีน้ำตาล ลำต้นแคระ แกร็น อาจจะเน่า อาการเริ่มต้นใบจะเป็นจุดสีเหลือง ใต้ใบอาจพบเส้นใยเชื้อราสีเทา หรือขาว หากระบาดรุนแรง กะหล่ำปลีจะค่อยๆแห้งตาย

กะหล่ำปลีเน่าคอดิน

โรคเน่าคอดินในกะหล่ำปลี เป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน มักพบระบาดง่าย ในแปลงที่หว่านกล้าแน่นจนเกินไป อาการจะเกิดรอยแผลช้ำที่โคนต้น โคนต้นจะค่อยๆแห้ง หัก ลำต้นเหี่ยว ตาย

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำปลี ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนแมลงศัตรูกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก ในกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน ตัวหนอนจะกัดกินใบด้านล่าง มองเห็นเป็นแผลบนแผ่นใบ เมื่อใบเริ่มห่อ หนอนจะเจาะเข้ากัดกินยอดอ่อน ทำให้กระหล่ำปลี ชะงักการเจริญเติบโต แคระแกร็น และเฉาตาย

หนอนคืบกะหล่ำปลี หนอนชนิดนี้ จะชอนไชเข้ากัดกินใบ หากระบาดมาก สามารถทำความเสียหายกัดกิน กะหล่ำปลีจนหมดต้น

หนอนเจาะยอดกะหล่ำ หนอนชนิดนี้จะเจาะเข้าทำลาย ถึงแกนกลางของหัวกะหล่ำปลี พบมากในระยะใบอ่อน

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยกะหล่ำปลี

เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ ของกะหล่ำปลีเช่นกัน จะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง สร้างความเสียหายให้กับกะหล่ำปลี ทำให้ใบเหลืองเป็นจุดๆ และเปื่อยเน่า รวมทั้งเป็นพาหะของโรคต่างๆ ทำให้กะหล่ำปลีอ่อนแอต่อโรค

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำปลี ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ่าน:3625
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
เพลี้ยอ่อนคะน้า

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ของเพลี้ยอ่อน จะดูดกินน้ำเลี้ยงยอดคะน้า ดูกินน้ำเลี้ยงรวมทั้งใบอ่อน และใบแก่ของคะน้า อาการที่แสดงให้เห็นคือ คะน้ายอดหงิก คะน้าใบหงิก หากคะน้าโดนเพลี้ยอ่อนเข้าทำลายมาก ใบจะมีสีเหลือง

การป้องกันและกำจัด เพลี้ยอ่อนคะน้า ทำได้โดยการฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนคะน้า หนอนใยผักในคะน้า

ตัวเมียของหนอนใยผักคะน้า จะวางไข่ได้ทั้งบนใบ และใต้ใบคะน้า ส่วนใหญ่มักจะเลือกวางไข่ไว้ใต้ใบ ลักษณะของหนอนใยผักนั้น หัวแหลม ท้ายแหลม ลำตัวเรียวยาว ตรงท้ายมีปุ่มแยกออกเป็นสองแฉก การทำลายของ หนอนใยผักคะน้า หนอนจะเข้ากัดกินผิวใบคะน้า ทำให้ใบคะน้ามีลักษณะเป็นรูพรุน

ป้องกันและกำจัด หนอนในคะน้า ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

คะน้าเน่าคอดิน โรคเน่าคอดินของคะน้า

เกิดจากเชื้อรา Pythium sp. หรือ Phytophthora sp. อาการที่แสดงคือ ต้นคะน้าจะเป็นแผลช้ำที่โคนต้น ติดกับดิน เนื้อเยื้อตรงแผล นะเน่าและค่อยๆแห้ง ต้นกล้าหักพับ และเหี่ยวแห้งตาย

โรคราน้ำค้างที่เกิดขึ้นกับคะน้า

เกิดจากเชื้อรา Peronospora parasitica อาการที่แสดงให้พบคือ คะน้าจะมีใบจุดสีดำ รวมกับเป็นกลุ่ม กระจายทั่วใบ สามารถลุกลามไปใบข้างเคียงได้เรื่อยๆ หากกระจายจนเต็มใบแล้ว จะทำให้ คะน้าใบเหลือง แห้ง และใบร่วง

ป้องกันและกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และโรคคะน้าต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งโตแตกใบคะน้า ฉีดพ่นด้วย FK-1 ช่วยให้คะน้าโตไว ได้ผลผลิตสูงขึ้น

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ่าน:3509
โรคราน้ำค้างข้าวโพด ข้าวโพดใบลาย โรคข้าวโพดจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส 
โรคราน้ำค้างข้าวโพด ข้าวโพดใบลาย โรคข้าวโพดจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส 
โรคราน้ำค้างข้าวโพด ข้าวโพดใบลาย โรคข้าวโพดจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส 

โรคราน้ำค้างข้าวโพด หรือโรค ข้าวโพดใบลาย มีสาเหตุเกิดจากเชื้อรา Peronosclerospora sorghi เกิดโรคได้ตั้งแต่ข้าวโพดเริ่มงอก

.

โดยพบจุดเล็กๆ สีเขียวฉ่ำน้ำบนใบอ่อน ต่อมาใบข้าวโพดมีสีเหลืองซีดโดยเฉพาะใบยอด หรือ ใบลายเป็นทางสีเขียวอ่อนสลับสีเขียวแก่ ในเวลาเช้ามักพบส่วนของเชื้อรา ลักษณะเป็นผงสีขาวจำนวนมากบนใบ บางครั้งพบยอดข้าวโพดแตกเป็นพุ่ม ต้นแคระแกร็น เตี้ย ข้อถี่ ไม่มีฝัก หรือมีฝักที่ติดเมล็ดน้อยหรือไม่ติดเมล็ดเลย ก้านฝักมีความยาวมาก หรือมีจำนวนฝักมากกว่าปกติ ข้าวโพดอายุ 1-3 สัปดาห์ จะอ่อนแอต่อโรคมาก

.

แก้โรคต่างๆของข้าวโพด ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้ง เชื้อรา ไวรัส แบคทีเรีย โรคใบไหม้ ใบแห้ง ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดตากบ แคงเกอร์ ไฟท็อปโธร่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/products/fk-3-i388594842-s754764572.html

อ่าน:3582
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?

อันนี้เล่าจากประสบการณ์ตรงครับ
.
ปกติบริษัทเมล็ดพันธุ์เค้าทำขายเป็นลูกผสม f1อยู่แล้ว และแน่นอนว่าถ้านำไปปลูกลักษณะด้อยที่มาจากต้นพ่อหรือแม่จะแสดงออกมาเรื่อยๆ หลายๆสิบลูกอาจจะมีเข้าท่าสักลูกแต่จะไม่เหมือนกับที่ปลูกจากเมล็ด f1 แน่นอน ทั้งๆที่รู้แต่ก็อยากลองปลูกดู เลยทดลองเก็บเมล็ดจากที่กินเมลอนลูกผสมพันธุ์หนึ่ง(ขอสงวนชื่อหน่อยนะครับ)เนื้อสีส้มๆ ปลูกในโรงเรือนพลาสติกขนาดเล็ก มุ้งตาถี่สี่สิบเมส ให้ปุ๋ยให้น้ำแบบน้ำหยดตั้งเวลาอัตโนมัติ
.
ครั้งแรกปลูกทั้งหมดยี่สิบต้น สภาพต้นแข็งแรงดีติดลูกทุกต้นแต่ทรงผลออกมาพิลึกพิลั่น ทั้งแบบเป็นพูๆคล้ายฟักทอง ออกตะปุ่มตะป่ำก็มี แต่หวานทุกลูก หอมบ้างไม่หอมบ้าง แต่มีอยู่ลูกหนึ่งกลิ่นดี ความหวานดี น้ำหนัก 1.5 กิโลทรงลูกเหมือนไข่ไก่ จากเดิมทรงกลม เก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์ต่อไป
.
ครั้งที่สองจำนวนต้นเท่าเดิม รุ่นนี้เริ่มไม่แข็งแรง อ่อนแอกับโรคราน้ำค้างมาก ตายไปสอง แต่ก็ประคับประคองจนได้เก็บกิน น้ำหนักต่อลูกโดยเฉลี่ยลดลง ความหวานเหมือนเดิม ความหอมลดลง ทรงลูกออกจะป้านๆหน่อย คัดไว้หนึ่งลูกเก็บเมล็ดไว้ต่อไป
.
ครั้งที่สามปลูกเท่าเดิม รุ่นนี้เพลี้ยไฟกับแมลงหวี่ขาวเยอะเพราะปลูกตอนหน้าร้อน เล่นเอาใจเสียเหมือนกัน ทั้งยาเคมี ทั้งชีวภัณฑ์ ใช้หมด เหลือรอดได้กินสี่ห้าลูก ตอนจะกินแสนเสียดาย ปลูกตั้งสองเดือนกว่าแต่ตอนกินแค่แป็บเดียว รุ่นนี้สีลูกเพี้ยน ตอนสุกมีทั้งสีเหลือง สีขาว สีเขียว สีขาวปนเขียวปนเหลืองมั่วไปหมด น้ำหนักลูกเหลือเจ็ดแปดขีด ความหวานลดลงมาก แต่กลิ่นหอมหายไปกลายเป็นกลิ่นขี้ไต้แทน เปลือกหนามาก เนื้อจากกรอบๆรุ่นนี้แข็งยังกับกินแฟงดิบ จากเมลอนหนึ่งลูก พยายามให้ออกลูกออกหลานหวังว่าจะเจออภิชาติเมลอนเข้าสักวันเป็นอันต้องจบลงในรุ่นนี้เอง
.
เอามาเล่าสู่กันฟังครับ กับผลไม้ลูกกลมๆที่ไม่รู้มีเสน่ห์อะไรนักหนา บ้าเก็บเมล็ดปลูกเข้าไปได้ยังไงไม่รู้กี่รอบ ทั้งลุ้น เหนื่อย แต่สนุกดีครับ ตอนลูกได้อายุเก็บผลทีนั่งลูบนั่งคลำดูแล้วดูอีก มันภูมิใจว่าปลูกมากับมือเชียวนะเนี่ย

.

ข้อมูลได้จาก สมาชิกหมายเลข 1001408 pantip.com

อ่าน:3444
262 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 26 หน้า, หน้าที่ 27 มี 2 รายการ
|-Page 26 of 27-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ต้นยางพารา.. ใบไหม้ !! ใบเหลือง รากเน่า รากขาว ราเส้นดำ ราสนิม ใบร่วง โรคราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และ ปุ๋ย FK-T
Update: 2567/03/20 11:17:47 - Views: 3509
ต้นกาแฟ โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ ผลผลิตดี ฉีดพ่นปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/04/10 13:06:08 - Views: 3451
เพลี้ยในดอกชบา การระบาดของเพลี้ยในดอกชบาและวิธีการควบคุม
Update: 2566/11/09 10:39:41 - Views: 3407
โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นแคคตัส: สาเหตุ อาการ และวิธีการจัดการ
Update: 2566/11/09 10:22:38 - Views: 3465
การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) ในการกำจัดหญ้าและวัชพืชในสวนมะละกอ
Update: 2567/02/13 09:17:55 - Views: 3624
แก้ปัญหาหนอนในต้นกระเพรา: วิธีป้องกันและกำจัดให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/11/22 10:30:27 - Views: 3500
วิธีป้องกันและควบคุมเพลี้ยศัตรูพืช ในแตงไทย
Update: 2566/11/08 14:33:26 - Views: 3428
แมลงศัตรูข้าว แตนเบียน ป้องกันกำจัดเพลี้ยกระโดด หรือง่ายๆ ใช้ มาคา
Update: 2564/02/26 11:27:36 - Views: 3480
ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบสำหรับอ้อย
Update: 2564/08/27 22:13:46 - Views: 3569
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - เทคโนโลยีที่เสริมสร้างการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโด้
Update: 2567/02/13 09:27:45 - Views: 3490
กำจัดเพลี้ย ใน แตงโม เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/06 15:27:08 - Views: 3443
ระวังโรคไหม้และขอบใบแห้งของข้าว
Update: 2564/08/30 04:05:18 - Views: 3636
การใช้ Metalaxyl ผสม Starfer Fertilizer 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดโรคในพริก
Update: 2567/02/28 13:29:58 - Views: 3417
ข้าววัชพืช ป้องกัน กำจัด ลดปริมาณ เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว
Update: 2564/08/25 10:58:39 - Views: 3406
การควบคุมโรคเชื้อราในแก้วมังกร อย่างมีประสิทธิภาพด้วย
Update: 2566/05/04 09:40:51 - Views: 3394
ฟาร์มิค ฮิวมิค แอซิด ฟื้นระบบราก ปลดปล่อยธาตุอาหารไห้กับพืช ปรับปรุงโครงสร้างดิน ช่วยไห้ดินร่วยซุย ระบายน้ำดี สร้างระบบรากฝอย สำหรับฉีดพ่น ต้นเงาะ
Update: 2567/02/13 09:47:16 - Views: 3525
ระวัง!! เพลี้ยอ่อน..ในต้นข้าวโพด สร้างความเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร
Update: 2566/11/06 14:37:49 - Views: 3409
กำจัดเชื้อรา ต้นหอม ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/22 11:33:56 - Views: 3416
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะสมอฝ้าย ใน หน่อไม้ฝรั่ง และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/02 13:57:52 - Views: 3444
สารออกฤทธิ์ฮิวมิคแอซิดของยี่ห้อฟาร์มิคสำหรับฟื้นฟูระบบรากและปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับพืช
Update: 2567/02/13 09:26:05 - Views: 3434
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022