[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - โรคไหม้
270 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 27 หน้า, หน้าที่ 28 มี 0 รายการ

โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease)
โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : เชื้อรา Pyricularia oryzae Sacc. ลักษณะอาการ ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2 - 5 มม. และความยาวประมาณ 10 - 15 มม. แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลาม
ระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมดแต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงแก่

ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะ หักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

การแพร่ระบาด

พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยอัตราสูงและมีสภาพอากาศแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดใน
กลางคืน ลมแรงจะแพร่กระจายโรคได้ดี

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
กรมส่งเสริมการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในช่วงนี้เป็นช่วงที่ข้าวกำลังออกรวง แนะให้เกษตรกรหมั่นลงพื้นที่เพื่อสำรวจแปลง เพื่อป้องกันโรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง ซึ่งโรคไหม้ข้าวสามารถพบได้ในหลายช่วงอายุของการปลูกข้าวตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ ไปจนถึงระยะออกรวง การระบาดของโรคพบได้ในสภาพแปลงนาที่มีต้นข้าวหนาแน่น อับลม แปลงนาที่ใส่ปุ๋ยอัตราสูง สภาพอากาศร้อนในตอนกลางวัน และมีชื้นสูงในตอนกลางคืน กระแสลมแรงจะเป็นตัวช่วยในการแพร่กระจายโรคได้ดี โดยลักษณะอาการในแต่ละระยะการเจริญเติบโตมีลักษณะ ดังนี้

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าอาการของโรครุนแรงต้นกล้าจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคไหม้คอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวงเมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบ แต่ถ้าเป็นโรคตอน รวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายปริมาณมาก ยิ่งในช่วงนี้ทุกภาคของประเทศไทยมีฝนตกอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับข้าวอยู่ในระยะออกรวงจึงอาจทำให้การระบาดของโรคไหม้ข้าวระยะคอรวงเพิ่มมากขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว โรคข้าวใบไหม้
โรคไหม้ข้าว โรคข้าวใบไหม้
โรคไหม้ (Rice Blast Disease) พบมาก ในนาน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และ ภาคใต้

สาเหตุ เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc.

อาการ

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง ถ้าอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี

การป้องกันกำจัด

ใช้พันธุ์ต้านทานโรค
ภาคกลาง เช่น สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 ชัยนาท 1 ปราจีนบุรี 1
พลายงาม คลองหลวง 1 พิษณุโลก 1

ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สุรินทร์ 1 เหนียวอุบล 2 เหนียวแพร่ สันปาตอง 1
หางยี 71 กู้เมืองหลวง ขาวโปร่งไคร้ น้ำรู

ภาคใต้ เช่น ดอกพะยอม

ข้อควรระวัง : ข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 และชัยนาท 1 ที่ปลูกในภาคเหนือตอนล่าง พบว่า แสดงอาการรุนแรงในบางพื้นที่ และบางปี โดยเฉพาะเมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย เช่น ฝนพรำ หรือหมอก น้ำค้างจัด อากาศเย็น ใส่ปุ๋ยมากเกินความจำเป็น หรือเป็นดินหลังน้ำท่วม

หว่านเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม คือ 15-20 กิโลกรัม/ไร่ ควรแบ่งแปลงให้มีการระบายถ่ายเทอากาศดี และไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงเกินไป ถ้าสูงถึง 50 กิโลกรัม/ไร่ โรคไหม้จะพัฒนาอย่าง
รวดเร็ว

คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน ไตรไซคลาโซล คาร์เบนดาซิม
โพรคลอราซ ตามอัตราที่ระบุ ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาดและพบแผลโรคไหม้ทั่วไป 5 เปอร์เซ็นต์

ของพื้นที่ใบ ควรฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน อีดิเฟนฟอส ไตรไซคลาโซล
ไอโซโพรไทโอเลน คาร์เบนดาซิม ตามอัตราที่ระบุ

ที่มา http://www.farmkaset..link..


ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราสนิมถั่วฝักยาว : RUST DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราสนิมถั่วฝักยาว : RUST DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุ : รา Uromyces appendiculatus var. appendiculatus (Pers.) Unger

ชีววิทยาของเชื้อ : พบเชื้อระยะ uredinium และ telium ที่ด้านบนใบมากกว่าใต้ใบ โดยเกิดใต้ epidermis ของพืช เมื่อเจริญเต็มที่จะดัน epidermis แตกออกมา เห็นผงสปอร์สีน้ำตาลแดงถึงสีดำ เกิด รวมกันเป็นกลุ่ม มีลักษณะเป็นวงกลมซ้อนกันหรืออาจเกิดเดี่ยวๆ กระจายทั่วใบ สปอร์ (urediniospore) 1 เซลล์ เกิดบนก้าน ผนังบาง ใสไม่มีสี ส่วนใหญ่รูปร่างเป็นแบบ obovoid มีบางสปอร์รูปร่างแบบ broadly ellipsoid ขนาด 21.25-28.75 x 18.75-22.50 ไมครอน (เฉลี่ย 25.45 x 20.88 ไมครอน) สีเหลืองทอง ผนังหนาสม่ำเสมอ ผิวผนังเป็นหนามแบบ echinulate มีจุดงอก 2 จุดต่อสปอร์ อยู่ด้านตรงข้ามกัน teliospore 1 เซลล์ รูปร่างแบบ obovoid ellipsoid จนถึงเกือบกลม ขนาด 26.25-35.00 x 23.75-27.50 ไมครอน (เฉลี่ย 31.50 x 25.31 ไมครอน) สีน้ำตาลเข้มบริเวณ apex ยื่นออกไปเป็นติ่งใสไม่มีสีหรือสีน้ำตาลอ่อน ผิวผนังเรียบ มีจุดงอก 1 จุดต่อสปอร์ อยู่บริเวณตรงกลาง apex เกิดบนก้านผนังบาง ใสไม่มีสีหรือสีเหลืองอ่อน

ลักษณะอาการ : เริ่มแรกเกิดเป็นจุดสีเหลืองซีด ต่อมาเป็นตุ่มนูนขนาดเล็กสีน้ำตาลแดง เนื้อใบบริเวณ รอบแผลเป็นวงสีเหลือง ต่อมาแผลขยายใหญ่ขึ้นและแตกปริออก มีผงสปอร์สีน้ำตาลแดง หรือสีน้ำตาลดำ เกิดกระจายทั่วใบ พบทั้งด้านบนใบและใต้ใบ มักเกิดกับใบแก่ทางตอนล่างของลำต้นก่อนแล้วลามขึ้นด้านบน เริ่มพบเมื่อต้นถั่วอยู่ในระยะออกดอก ถ้าเป็นรุนแรงมากจะทำให้ใบแห้งและร่วง

การแพร่ระบาด : โรคแพร่ระบาดโดยสปอร์ของเชื้อราแพร่ไปกับลม น้ำฝน และแมลง สภาพที่เหมาะสม ต่อการระบาดของโรคคืออุณหภูมิปานกลาง-ค่อนข้างสูง ความชื้นสูง ครึ้มฝน หมอกลงจัด น้ำค้างมาก หรือเมื่อมี น้ำเกาะติดอยู่กับใบพืชเป็นเวลานาน

การป้องกันกำจัด :

1. ไม่ปลูกพืชแน่นเกินไป

2. ทำความสะอาดแปลงปลูก กำจัดเศษซากพืชที่เป็นโรค

3. เมื่อพบโรคระบาดในแปลง พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น กำมะถันผงชนิดละลายน้ำ อัตรา 30-40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นสัปดาห์ละครั้ง ไม่ควรใช้ในขณะที่แดดร้อนจัด

4. ปลูกพืชชนืดอื่นหมุนเวียน

5. กำจัดวัชพืช สม่ำเสมอ เพื่อลดความชื้น ลดการแข่งขันกับพืช และช่วยให้แดดส่องถึง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมถั่วฝักยาว โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราแป้งมะเขือเทศ : POWDERY MILDEW DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราแป้งมะเขือเทศ : POWDERY MILDEW DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุของ โรคราแป้งมะเขือเทศ : รา Oidiopsis sp. ชีววิทยาของเชื้อ : เชื้อราสาเหตุโรคราแป้งเป็นปรสิตถาวรคือ ตลอดวงจรชีวิตจะต้องอาศัยเจริญเติบโต บนสิ่งที่มีชีวิตเท่านั้น ไม่สามารถนำมาเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ได้ ราสร้างเส้นใยและกลุ่มของสปอร์บนผิวใบพืช ที่มันเข้าทำลาย แล้วส่งเส้นใยพิเศษเข้าไปอยู่ในเซลล์ใต้ผิวใบ เกิดขึ้นได้ทั้งบนใบและใต้ใบ ราพวกนี้เข้า ทำลายพืชเพียงผิวตื้นๆ แค่ใต้ผิวใบ หลังจากนั้นสปอร์เมื่อแก่จะถูกปล่อยสู่สภาพแวดล้อมในอากาศ ในน้ำ ในดินต่อไป

ลักษณะอาการ : มองเห็นเป็นปุยของกลุ่มสปอร์และเส้นใยสีขาว-เทาที่เชื้อราสร้างขึ้น บนผิวใบ มี ลักษณะเป็นผงสีขาวคล้ายแป้งฝุ่นหรือผงชอล์กปกคลุมทั่วไป อาการเริ่มแรกมักเป็นหย่อมๆ แล้วขยาย จนเต็มใบ ถ้าเป็นรุนแรงจะทำให้ใบแห้งตาย อาการส่วนใหญ่มักเกิดกับใบอ่อนและยอดอ่อน ทำให้ได้รับ ความเสียหายมากกว่าส่วนที่เจริญเต็มที่แล้ว ในสภาพอากาศเย็นจะลุกลามไปที่กิ่งได้

การแพร่ระบาด : มักเข้าทำลายพืชที่มีอายุค่อนข้างมากหรือใกล้เก็บเกี่ยว เนื่องจากราสาเหตุมีพืชอาศัย ค่อนข้างมาก และมีการปลูกอยู่ตลอดฤดู หรือมีการปลูกเกือบตลอดทั้งปี ดังนั้นแหล่งกำเนิดของราเพื่อ การแพร่ระบาดจึงเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา สปอร์แพร่กระจายโดยลม ไปทางอากาศ ติดไปกับแมลง ในฤดูหนาว ช่วงกลางคืนเย็นและมีความชื้นสูง ตอนเช้ามีหมอก เวลากลางวันอุ่นถึงร้อน เป็นสภาพที่เหมาะสม ราเข้า ทำลายมะเขือเทศได้รุนแรงในสภาพอากาศแห้ง อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการงอกของสปอร์ 15-25 องศาเซลเซียส ระยะฟักตัวอยู่ระหว่าง 10-12 วัน

การป้องกันกำจัด :

ควบคุมโรคราแป้งโดยตัดแต่งกิ่ง ใบ ให้ทรงต้นโปร่ง เก็บรวบรวมเศษซากพืชที่เป็นโรคเผาทำลาย เพื่อลดการแพร่กระจายของโรค ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์ทุกครั้งที่ตัดแต่ง หรือใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืช ผสมน้ำพ่นในระยะที่มีการระบาดของราอย่างสม่ำเสมอ

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคแอนแทรคโนสพริก : ANTRACNOSE DISEASE
โรคแอนแทรคโนสพริก : ANTRACNOSE DISEASE
เชื้อสาเหตุของ โรคแอนแทรคโนสพริก : เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. และ C capsici (Syd.) E.J. Butler

ชีววิทยาของเชื้อ : C. gloeosporioides สปอร์มีรูปร่างทรงกระบอก ปลายโค้งถึงรูปไข่ ไม่มีสี มีเซลล์เดียว เกิดบน conidiophore ใน fruiting body เรียกว่า acervulus สำหรับรา C. capsici สปอร์มีรูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ไม่มีสี มีเซลล์เดียว เกิดบน conidiophore ใน fruiting body เรียกว่า acervulus พบราชนิดนี้สร้าง setae จำนวนมาก

ลักษณะอาการ : อาการของโรคมักพบบนผลพริกที่เริ่มสุก หรือระยะก่อนที่ผลพริกจะเปลี่ยนสี อาการ เริ่มแรกจะปรากฏเป็นวงกลมช้ำสีน้ำตาล เนื้อเยื่อบุ๋มลึกลงไปจากระดับเดิมเล็กน้อย และจะค่อยๆ ขยาย กว้างออกไปเป็นวงกลมหรือวงรีรูปไข่ ซึ่งมองเห็นลักษณะของราที่เจริญภายใต้เนื้อเยื่อของพืชขยายออก ไปในลักษณะที่เป็นวงกลมสีดำซ้อนกันเป็นชั้น เมื่อมีความชื้นจะเห็นเป็นเมือกเยิ้มสีส้มอ่อนๆ บริเวณแผล บนผลพริก ทำให้แผลขยายตัวและผลพริกจะเน่าและร่วงก่อนเก็บเกี่ยว ผลพริกที่เป็นโรคนี้เมื่อนำไป ตากแห้งจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองซีด

การแพร่ระบาด : พบระบาดมากในสภาพที่มีความชื้นสูงหรือมีฝนตก โดยเฉพาะในช่วงที่กำลังให้ ผลผลิต และโรคจะระบาดรุนแรงในพื้นที่ปลูกที่ขาดความเอาใจใส่และดูแล ความเสียหายในแต่ละท้องที่ มีความแตกต่างกันตามชนิดของเชื้อสาเหตุ และเชื้อราสามารถติดไปกับเมล็ดพริกได้

การป้องกันกำจัด :

1. คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์จากผลพริกที่ไม่เป็นโรคมาปลูก

2. การปลูกไม่ควรปลูกระยะชิดมากเกินไปจะทำให้ต้นแน่น การถ่ายเทอากาศไม่สะดวก และมี ความชื้นสะสมในแปลงปลูก โรคจะระบาดได้ง่ายและรวดเร็ว

3. กำจัดและเก็บผลพริกที่เป็นโรคแอนแทรคโนสจากแปลงทิ้งให้หมด สามารถลดปริมาณของ เชื้อสาเหตุ ซึ่งจะทำให้เป็นต้นกำเนิดของการเกิดโรคในฤดูปลูกต่อๆ ไป

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
มะเขือเทศใบไหม้ โรคมะเขือเทศ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
มะเขือเทศใบไหม้ โรคมะเขือเทศ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
เชื้อสาเหตุของ โรคใบไหม้ในมะเขือเทศ เกิดจาก รา Phytophthora infestans_ ชีววิทยาของเชื้อ : การเลี้ยงรา P. infestans ในอาหารสังเคราะห์ทำได้ยาก อาจเป็นเพราะมีการ วิวัฒนาการ เข้าไปใกล้พวกราน้ำค้าง ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม อากาศเย็น อุณหภูมิต่ำ ฝนตกชุก มีความชื้น สูง ราสร้างสปอร์แรงเจียเป็นจำนวนมาก เมื่อสปอร์มีอายุจะหลุดง่าย แพร่กระจายโดยลมและฝน ภายใน สปอร์ยังสามารถสร้างสปอร์มีหางจำนวนมาก แล้วปล่อยออกมาเข้าทำลายพืชได้อีกด้วย

ลักษณะอาการ : โรคมักเกิดบริเวณใบล่างของต้น บริเวณด้านบนของใบ เป็นจุดช้ำสีเขียวเข้มแสดง อาการใบไหม้ ส่วนด้านล่างของใบเหมือนใบถูกน้ำร้อนลวก รอยช้ำนี้ขยายขนาดออกไปอย่างรวดเร็ว พบเส้นใย และกลุ่มสปอร์สีขาวอยู่รอบๆ รอยช้ำ เมื่อเชื้อเจริญมากขึ้นใบจะแห้ง ในบางครั้งโรคแสดงอาการที่ส่วน ของกิ่งและลำต้น โดยมีลักษณะเป็นจุดช้ำน้ำ แผลสีดำเช่นเดียวกับที่ใบ ถ้าเกิดเป็นแผลที่โคนกิ่งจะทำให้บริเวณ ส่วนยอดของกิ่งนั้นแสดงอาการเหี่ยวเฉาเนื่องจากน้ำและอาหารส่งไปเลี้ยงส่วนยอดได้ไม่เต็มที่ หากทำลาย อย่างรุนแรงจะตายภายใน 1 สัปดาห์

การแพร่ระบาด : โรคลุกลามอย่างรวดเร็วจากใบหนึ่งไปยังอีกใบหนึ่ง จากต้นที่เป็นโรคไปยังต้นที่อยู่ ใกล้เคียง เกิดการระบาดได้รวดเร็วและรุนแรงในสภาพอากาศเย็นอุณหภูมิประมาณ 18 อาศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่า 90 % เชื้อราสามารถยังชีพอยู่ในเศษซากพืชที่ ตกค้างอยู่ในดินและยังสามารถอาศัย และขยายพันธุ์ได้ในดิน ตลอดจนสามารถแพร่ขยายได้โดยน้ำ แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วหลังฝนตก

การป้องกันกำจัด โรคราต่างๆ
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#มะเขือเทศใบไหม้ #โรคามะเขือเทศ #ราน้ำค้างบวบ #ราแป้งบวบ #ราแป้งซูกินี่ #ราน้ำค้างซูกินี่ #ราน้ำค้างองุ่น #ราแป้งองุ่น #แอนแทรคโนสองุ่น #ราน้ำค้างแคลตาลูป #ราน้ำค้างเมล่อน #ราน้ำค้างข้าวโพด #ราน้ำค้างถั่วเหลือง #ราน้ำค้างกะหล่ำปลี #ราน้ำค้างฟักแม้ว #ราน้ำค้างฟักเขียว #ราน้ำค้างแตงกวา #ราน้ำค้างมะระจีน #ราน้ำค้างฟักทอง #ข้าวไหม้คอรวง #ข้าวเน่าคอรวง #ข้าวขาดคอรวง #โรคข้าว #แตงโมเถาเหี่ยว #ราน้ำค้างแตงโม #แตงโมใบไหม้ #โรคพืช #โรคใบไหม้ #โรคราสนิม #โรคใบติด #ทุเรียนใบติด #โรคราน้ำค้าง #แอนแทรคโนส #ไฟธอปโทร่า #โรคกุ้งแห้ง #โรคใบจุด #ราแป้ง #โรคเหี่ยว

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
โรคใบไหม้มะเขือเทศ มะเขือเทศใบไหม้ [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคใบไหม้มะเขือเทศ มะเขือเทศใบไหม้ [ ไอเอส + FK-1 ]
จากสภาพอากาศเย็น มีหมอกในตอนเช้า และมีความชื้นสูงระยะนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมะเขือเทศเฝ้าระวังโรคใบไหม้ ที่สามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของมะเขือเทศ

เริ่มแรกจะพบอาการของโรคที่ใบล่างก่อน และด้านบนใบพบแผลฉ่ำน้ำสีเขียวหม่นคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ตรงกลางแผลแห้งเป็นสีน้ำตาล บริเวณขอบแผลฉ่ำน้ำมีสีดำ เมื่อพลิกดูด้านใต้ใบบริเวณตรงกันจะพบส่วนของเชื้อราสาเหตุโรคสีขาว และแผลจะลุกลามออกไปทำให้ใบไหม้แห้งเป็นสีน้ำตาลในที่สุด หากสภาพแวดล้อมเหมาะสมมีความชื้นสูง หรือในสภาพที่มีหมอกลงจัด โรคจะลุกลามอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้จะพบอาการโรคที่ส่วนของลำต้น กิ่ง และผล หากเกิดแผลที่ลำต้นหรือโคนกิ่ง จะทำให้ส่วนยอดแสดงอาการเหี่ยวเฉา

เนื่องจากพืชไม่สามารถลำเลียงน้ำและอาหารได้ ต่อมากิ่งหรือต้นจะแห้งตาย หากโรคเข้าทำลายที่ผลจะทำให้ผลเน่า เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคใบไหม้มันฝรั่ง (Leaf blight) มันฝรั่งใบไหม้ [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคใบไหม้มันฝรั่ง (Leaf blight) มันฝรั่งใบไหม้ [ ไอเอส + FK-1 ]
เกิดเป็นจุดช้ำคล้ายถูกน้ำร้อนลวก บริเวณแผลเป็นสีเขียวหม่น ด้านใต้ใบตรงที่แสดงอาการคล้ายน้ำร้อนลวกนี้จะมองเห็นคล้ายเป็นละอองน้ำเล็กๆสีขาวติดใสอยู่ โดยเฉพาะบริเวณขอบแผล บริเวณที่แสดงอาการคล้ายถูกน้ำร้อนลวกนี้จะค่อยๆแห้งกลายเป็นสีน้ำตาล ในขณะเดียวกันขนาดของแผลจะขยายใหญ่ออกไปเรื่อยๆจนเกือบจะทั่วใบ และใบนั้นจะแห้งไหม้เป็นสีน้ำตาลในที่สุด

เชื้อสาเหตุ :เกิดจากเชื้อรา Phytophthora infestans

ลักษณะอาการ :เกิดเป็นจุดช้ำคล้ายถูกน้ำร้อนลวก บริเวณแผลเป็นสีเขียวหม่น ด้านใต้ใบตรงที่แสดงอาการคล้ายน้ำร้อนลวกนี้จะมองเห็นคล้ายเป็นละอองน้ำเล็กๆสีขาวติดใสอยู่ โดยเฉพาะบริเวณขอบแผล บริเวณที่แสดงอาการคล้ายถูกน้ำร้อนลวกนี้จะค่อยๆแห้งกลายเป็นสีน้ำตาล ในขณะเดียวกันขนาดของแผลจะขยายใหญ่ออกไปเรื่อยๆจนเกือบจะทั่วใบ และใบนั้นจะแห้งไหม้เป็นสีน้ำตาลในที่สุด อาการของโรคจะลุกลามอย่างรวดเร็วจากใบหนึ่งไปยังอีกใบหนึ่ง และจากต้นที่เป็นโรคไปยังต้นที่อยู่ใกล้เคียง จึงมักจะมองเห็นการเกิดโรคกระจายเป็นหย่อมๆ ในบางครั้งโรคนี้แสดงอาการที่ส่วนของลำต้น ซึ่งจะแสดงอาการใกล้เคียงกับอาการบนใบ ทำให้ลำต้นหรือกิ่งแห้งตายอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้เชื้อของสาเหตุของโรคนี้ยังสามารถเข้าทำลายที่หัว ทำให้เกิดอาการหัวเน่าได้ด้วย

โรคนี้เกิดระบาดได้รวดเร็วและรุนแรงในสภาพอากาศเย็น อุณหภูมิประมาณ 18 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสูงมาก เชื้อราสามารถยังชีพอยู่ในเศษซากพืชที่ตกค้างอยู่ในดิน นอกจากนั้นเชื้อราสาเหตุยังสามารถอยู่อาศัยและขยายพันธุ์ได้ในดินตลอดจนสามารถแพร่กระจายได้โดยน้ำ

การป้องกันและกำจัด

1. พยายามลดความชื้นในแปลงปลูกเมื่ออุณหภูมิเหมาะสม

2. เมื่อพบต้นที่แสดงอาการโรคควรรีบถอนออกเผาทำลาย

3. ถ้าสามารถปฏิบัติได้ควรหลีกเลี่ยงการปลูกมันฝรั่งในบริเวณที่เคยมีโรคระบาด

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) : LEAF BLIGHT DISEASE
โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) : LEAF BLIGHT DISEASE
เชื้อสาเหตุ : รา Phythopthora colocasiae Rac ชีววิทยาของเชื้อ : เชื้อสร้างเส้นใยบนอาหารแข็ง CA เป็นเส้นตรง กิ่งก้านแยกออกไปไม่สม่ำเสมอ เส้นใยใสไม่มีสี ไม่มีผนังกั้น ผิวผนังเรียบ ลักษณะโคโลนีคล้ายเส้นใยแมงมุม เชื้อเจริญเต็มจานเลี้ยงเชื้อเมื่ออายุ 3-5 วัน สร้าง sporangia รูปยาว หรือรูปไข่ มีปุมนูนไม่เด่นชัด (semipapillate) บนสปอร์ L:B = 1.6:1 เมื่อสปอร์มีอายุจะหลุดง่าย แพร่กระจายโดยลมและฝน ภายในสปอร์ยังสามารถสร้างสปอร์มีหางจำนวนมาก แล้วปล่อยออกมา เข้าทำลายพืชได้อีกด้วย

ลักษณะอาการ : อาการบนใบเกิดจุดสีน้ำตาลฉ่ำน้ำ ต่อมาจุดแผลเหล่านั้นขยายใหญ่ขึ้น เกิดอาการ ใบไหม้เป็นวงๆ ซ้อนๆ กัน เป็นชั้นๆ ลักษณะคล้ายดวงตา บริเวณขอบแผลที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันจะพบ เนื้อเยื่อสีเหลืองล้อมรอบ ในระยะที่รุนแรงแผลขยายติดต่อกัน และทำให้ใบม้วนพับเข้าและแห้งเหี่ยว หรืออาจเน่าเละถ้าอากาศชื้นมีฝนพรำ หากเกิดโรครุนแรง พบอาการบนก้านใบ เกิดแผลฉ่ำน้ำสีน้ำตาลอ่อน แผลขยายใหญ่ขึ้นเป็นวงๆ เช่นกัน ต่อมาจะเน่า แห้ง เป็นสีน้ำตาลหรือสีดำ ก้านต้านทานน้ำหนักใบไม่ได้ จึงหักพับ ทำให้ใบแห้ง ผลผลิตลดลง และเชื้ออาจเข้าทำลายหัวเผือก ทำให้หัวเผือกเน่าเสียหายได้

การแพร่ระบาด : ความชื้นสูงและอุณหภูมิต่ำมีผลต่อการเกิดโรค ทำให้โรคมีการระบาดรุนแรง หากช่วงที่ได้รับเชื้อ มีฝนตกพรำตอนใกล้รุ่ง และตอนเช้าติดต่อกัน มีฝนพรำทั้งวัน และมีลมอ่อนๆ เนื่องจาก สภาพดังกล่าวเหมาะสมต่อการสร้างสปอร์เชื้อรา ซึ่งเชื้อสร้างสปอร์บนใบเผือกได้ดีหากมีความชื้นสูง (90-100%) และอุณหภูมิต่ำ (20-25%) เกษตรกรมักนิยมปลูกเผือกตามคันสวนผักหรือปลูกในที่ลุ่มมีน้ำขังแฉะ ทำให้มี ความชื้นสูง การระบาดของโรคจึงเกิดง่ายตลอดปี

การป้องกันกำจัด :

เก็บเศษซากพืชหรือส่วนที่เป็นโรคออกไปเผาทำลาย ปลูกพืชในพื้นที่ดินที่มีการ ระบายน้ำได้ดี ไม่เป็น ที่น้ำขังและไม่ปลูกแน่นจนเกินไป

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
270 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 27 หน้า, หน้าที่ 28 มี 0 รายการ
|-Page 23 of 28-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแดง ใน พุทรา และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/07 10:55:32 - Views: 3428
ปุ๋ยพุทรา ตรา FK ปุ๋ยน้ำสำหรับพุทรา บทบาทของปุ๋ยตรา FK ในการปลูกและเพิ่มผลิตพุทรา
Update: 2565/12/17 12:13:06 - Views: 3392
ยาดม-ยาอม-ยาหอม สู่การส่งออกสมุนไพรไทย
Update: 2565/11/19 13:00:00 - Views: 3403
กำจัดเพลี้ยหอยเกล็ด ศัตรูพืชในต้นทุเรียน มาคา ฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย FK-T อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ โดย FK
Update: 2566/05/25 15:42:36 - Views: 3453
หนอนกัดกินเปลือกยางพารา
Update: 2564/08/18 05:25:23 - Views: 3448
การบำรุงดูแลสวนปาล์มน้ำมันเพื่อเพิ่มผลผลิต ด้วยการใช้ฮิวมิค FK เสริมฟลูวิคและปุ๋ยทางใบ FK-1
Update: 2567/11/06 10:15:44 - Views: 29
ข้าวใบไหม้ ข้าวเน่าคอรวง พบได้ทั้งใน นาปรัง และนาปี มีสาเหตุจากเชื้อรา รักษาด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
Update: 2564/01/09 09:46:14 - Views: 3479
การดูแลสวนลำไยตลอดปี ด้วยฮิวมิคFK (เสริมฟลูวิค) และปุ๋ยทางใบ FK-1 เพื่อการเติบโตและผลผลิตที่สมบูรณ์
Update: 2567/11/09 08:28:55 - Views: 66
โรคไหม้ ระบาดนาข้าว กรมการข้าว เร่งช่วยชาวนา แนะใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานโรค ข้าวใบไหม้
Update: 2564/08/09 10:22:28 - Views: 3978
พืชเป็นโรค หมายความว่าอย่างไร ?
Update: 2564/04/24 02:41:12 - Views: 3386
กำจัดเชื้อรา หน่อไม้ฝรั่ง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/26 10:33:17 - Views: 3399
การให้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบสำหรับต้นพุทรา: วิธีการและสูตรที่เหมาะสม
Update: 2566/11/18 09:03:29 - Views: 3413
ทุเรียนใบไหม้ มีสาเหตุมาจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส ราฝ่อ หยุดลุกลาม
Update: 2563/10/28 14:21:37 - Views: 3706
ฮิวมิค แอซิด: เทคโนโลยีใหม่สำหรับฟื้นฟูระบบรากและปรับปรุงดินในการปลูกมะปราง
Update: 2567/02/13 09:52:05 - Views: 3418
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากเน่า ใน ดอกโป๊ยเซียน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/18 10:34:00 - Views: 3556
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในผักกาดหอม
Update: 2566/05/13 09:57:14 - Views: 3411
โรคราดำทุเรียน ป้องกันราดำทุเรียน แก้ราดำทุเรียน ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
Update: 2565/03/02 00:24:03 - Views: 3399
โรคมันสำปะหลัง มันสำปะหลังขาดธาตุสังกะสี ทำให้โตช้า พบจุดขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบย่น ขาดรุนแรงอาจตายได้
Update: 2564/03/07 00:03:14 - Views: 3558
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืชพริกไทย
Update: 2566/05/06 11:18:43 - Views: 3428
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
Update: 2564/06/17 17:48:13 - Views: 3453
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022