[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3509 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 9 รายการ

โรคราน้ำค้างระบาดในแปลงผัก ผลผลิตตกต่ำ
โรคราน้ำค้างระบาดในแปลงผัก ผลผลิตตกต่ำ
จากสภาพอากาศที่หนาวเย็น อุณหภูมิเฉลี่ย 18-22 องศาเซลเซียส ทำให้ส่งผลกระทบต่อแปลงปลูกผักใน อ.วารินชำราบ เพราะเกิดการระบาดของโรคราน้ำค้าง ทำต้นคะน้าเสียหาย ขายไม่ได้ราคา

เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรจังหวัดกล่าวว่า โรคราน้ำค้างในคะน้าจะเกิดเป็นจุดราสีขาวอมเทากระจายอยู่ทั่วใบ จากนั้นใบจะเริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แห้งและร่วง การระบาดจะเริ่มเกิดตั้งแต่ระยะกล้าจนถึงต้นโต โดยไม่ทำให้ต้นคะน้าตาย แต่ทำให้โตช้าและไม่ได้น้ำหนัก เพราะเกษตรกรต้องตัดใบที่เกิดโรคระบาดทิ้ง ซึ่งการระบาดจะพบในพื้นที่อุณหภูมิต่ำ มีความชื้นสูง กลางวันมีอากาศร้อน

ด้านศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.อุบลราชธานี ระบุอุณหภูมิในสัปดาห์นี้มีแนวโน้มลดลงอีก 1-3 องซาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย 15-21 องศาเซลเซียส ส่วนยอดภู 8-15องศาเซลเซียส

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน รักษาโรคราน้ำค้าง และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุงผลผลิต สร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง
โรคราน้ำค้างในฟักแม้ว
โรคราน้ำค้างในฟักแม้ว
กรมวิชาการเกษตร เพื่อเกษตรกร ในช่วงที่มีอากาศหนาว มีน้ำค้างลงจัด และมีความชื้นในอากาศสูงเช่นนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกฟักแม้ว (ชาโยเต้ หรือ มะระหวาน) ให้หมั่นสังเกตอาการของโรคราน้ำค้างที่สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต มักพบอาการของโรคบนใบที่อยู่บริเวณด้านล่างของต้นก่อน ต่อมาขยายลุกลามไปยังใบที่อยู่ด้านบน เริ่มแรกพบแผลเหลี่ยมเล็กฉ่ำน้ำตามกรอบของเส้นใบย่อย ต่อมาแผลเปลี่ยนเป็นสีเหลือง

กรณีที่ในตอนเช้ามีความชื้นสูง จะพบเส้นใยเชื้อราเป็นขุยสีขาวเทาตรงแผลใต้ใบ จากนั้น แผลจะขยายใหญ่ติดต่อกัน และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ หากอาการรุนแรง จะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น และต้นที่เป็นโรคจะติดผลน้อย ผลมีขนาดเล็ก คุณภาพของผลจะลดลง กรณีเป็นโรคในระยะผลอ่อน จะทำให้ผลลีบเล็ก และบิดเบี้ยว

สำหรับพื้นที่ที่พบอาการของโรคราน้ำค้าง เกษตรกรควรหมั่นตรวจและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ และตัดแต่งใบที่อยู่ด้านล่างของต้นออกบางส่วน เพื่อให้แปลงปลูกมีอากาศถ่ายเทสะดวก ลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค และทำลายแหล่งอาศัยของด้วงเต่าแตง อีกทั้งควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนที่ไม่ใช่พืชตระกูลแตง

ภายหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตเรียบร้อยแล้ว ให้เกษตรกรเก็บเศษซากพืชส่วนที่เหลือนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกทันที และให้เลือกใช้ผลหรือกิ่งพันธุ์คุณภาพดีจากแหล่งปลอดโรค หลีกเลี่ยงการปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้เกิดความชื้นสูง อากาศไม่ถ่ายเท และโรคระบาดได้รวดเร็ว ส่วนแปลงที่เป็นโรค ควรงดการให้น้ำในช่วงเย็น กรณีพบด้วงเต่าแตงที่เป็นพาหนะเชื้อราสาเหตุโรค

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน รักษาโรคราน้ำค้าในฟักแม้ว ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุงฟักแม้ว เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง ส่งเสริมการเจริญเติบโต และเพิ่มผลผลิต
รับมือ โรคราน้ำค้างในข้าวโพด
รับมือ โรคราน้ำค้างในข้าวโพด
ในระยะนี้จะมีอากาศร้อนและมีฟ้าหลัวตอนกลางวัน และมีฝนฟ้าคะนองกับมีลมกระโชกแรงบางแห่ง กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดให้หมั่นสังเกตอาการของโรคราน้ำค้าง มักพบแสดงอาการในระยะที่เริ่มเพาะปลูกจนถึงระยะที่ต้นข้าวโพดมีอายุประมาณ 30 วัน ซึ่งในระยะนี้ต้นข้าวโพดจะอ่อนแอต่อโรคนี้มาก โดยอาการของโรคจะพบได้ตั้งแต่ข้าวโพดเริ่มงอก เริ่มแรกจะพบจุดเล็กสีเขียวฉ่ำน้ำบนใบอ่อน ต่อมาใบข้าวโพดบริเวณยอดมีสีเหลืองซีด หรือใบลายเป็นทางสีเขียวอ่อนสลับเขียวแก่ ในเวลาเช้าที่มีอากาศค่อนข้างเย็นและมีความชื้นสูง ด้านใต้ใบมักพบส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อราเป็นผงสีขาวจำนวนมาก บางครั้งพบยอดข้าวโพดแตกเป็นพุ่ม ต้นแคระแกร็น เตี้ย ข้อถี่ ไม่มีฝักหรือมีฝักขนาดเล็ก ก้านฝักมีความยาวมากหรือมีจำนวนฝักมากกว่าปกติ แต่ฝักจะไม่สมบูรณ์ เช่น มีจำนวนเมล็ดน้อย หรือไม่มีเมล็ดเลย

กรณีเริ่มพบการระบาดของโรค ให้เกษตรกรถอนต้นกล้าข้าวโพดที่แสดงลักษณะอาการของโรคไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกทันที เนื่องจากเชื้อสาเหตุโรค สามารถเข้าทำลายต้นข้าวโพดได้ตั้งแต่ในระยะที่ข้าวโพดเริ่มงอก ซึ่งการพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืชหลังจากต้นข้าวโพดอายุ 20 วันขึ้นไป จะไม่สามารถป้องกันกำจัดโรคนี้ได้ สำหรับพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียน ในส่วนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีพื้นที่ปลูกเป็นบริเวณกว้าง ให้เน้นการป้องกันกำจัดโดยใช้วิธีการคลุกเมล็ดพันธุ์

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน รักษาโรคราน้ำค้างในข้าวโพด ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟูข้าวโพด บำรุง เสริมสร้างภูมิต้านทานโรคราน้ำค้าง รวมถึงส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดจนเพิ่มผลผลิต
โรคราน้ำค้าง (Downy mildew) ขององุ่น
โรคราน้ำค้าง (Downy mildew) ขององุ่น
ลักษณะอาการของโรค/การเข้าทำลาย เข้าทำลายในใบ ช่อดอก กิ่งอ่อนและมือจับ แต่จะพบมากที่สุดบนใบและช่อดอก อาการบนใบจะเห็นเป็นจุดเหลืองเล็กๆ ทางด้านบนใบ และจะขยายโตขึ้น บริเวณใต้ใบจะพบราสีขาวเป็นกระจุก ใบที่ถูกทำลายมากจะมีสีน้ำตาลและแห้งตายไปในที่สุด อาการบนช่อดอกพบในระยะดอกใกล้บาน พบแผลสีเขียวปนเหลือง และจะเห็นเชื้อราขาวฟูบนดอก เมื่ออาการรุนแรงจะเป็นสีน้ำตาลแก่ และแห้งตายติดกับเถาไม่ร่วง บนกิ่งอ่อนจะพบแถบสีน้ำตาลอ่อนตามแนวยาวของกิ่ง และเห็นเชื้อราสีขาว ยอดชะงักการเจริญเติบโต โรคนี้มีความรุนแรงกับองุ่นมาก

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด​ โรคราน้ำค้างองุ่น ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน กำจัด รักษา และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุง เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง ส่งเสริมผลผลิต ทั้งปริมาณ และคุณภาพ
โรคราน้ำค้าง
โรคราน้ำค้าง
การดูแลรักษาต้นพืชให้ห่างไกลจากโรคพืชนับว่าเป็นสิ่งสำคัญในการปลูกพืช โดยโรคพืชนั้นแต่ละฤดูกาลก็เกิดโรคแตกต่างกันไป แต่โรคที่สามารถระบาดได้ง่ายในช่วงฤดูฝน คือโรคที่เกิดจากเชื้อรา เนื่องจากภูมิอากาศเย็นขึ้นและมีความชื้นสูง ทำให้เหมาะแก่การเติบโตของเชื้อราบางชนิด โดยเฉพาะโรคราน้ำค้าง ซึ่งเป็นโรคที่สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายในต้นพืช และยังแฝงตัวอยู่ในใบพืชรวมทั้งเมล็ดพันธุ์ของพืชได้อีกด้วยครับ

โรคราน้ำค้างจะเกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่งที่สามารถแพร่กระจายได้ด้วยลมและฝน ที่พัดพาเชื้อราของโรคราน้ำค้างไปติดต้นพืชชนิดอื่น และสัตว์ขนาดเล็กที่อาศัยอยู่บริเวณพืชพันธุ์ที่เพาะปลูกยังสามารถนำพาเชื้อราดังกล่าวไปติดต้นพืชต้นอื่นได้อีกด้วยครับ เพื่อนๆ เกษตรกรจึงควรดูแลไม่ให้โรคราน้ำค้างระบาดในแปลงพืชเพราะอาจไปทำลายผลผลิตที่เพาะปลูกให้เสียหายและเสียราคาได้ครับ

โรคราน้ำค้างจะเกิดในต้นพืชได้ทั้งบริเวณใบ ดอก เมล็ดและลำต้น แต่ส่วนใหญ่จะพบว่าเกิดบริเวณใบ โดยใบจะมีลักษณะเป็นจุดสีเทาขาวก่อนที่จะกลายเป็นแผลสีเหลืองปนน้ำตาลเป็นจุดๆ กระจายเป็นวงกว้างและติดไปยังใบอื่น เชื้อราของโรคราน้ำค้างมักจะติดต่อในใบพืชที่อยู่ด้านล่างก่อนจะติดสู่ใบพืชปลายยอดและระบาดในแปลงพืชได้ เมื่อพืชเป็นโรคราน้ำค้างรุนแรงจะทำให้พืชเหี่ยวเฉาและตายในที่สุด หากพบโรคราน้ำค้างในต้นกล้าจะส่งผลให้ต้นกล้าตายได้มากกว่าต้นพืชที่เจริญแล้ว เพราะพืชที่เจริญเติบโตจะมีภูมิคุ้มกันดีกว่าต้นกล้าครับ

วิธีการป้องกันโรคราน้ำค้างนั้นต้องเริ่มจากการคัดเลือกเมล็ดที่ไม่มีประวัติโรคหรือเชื้อรามาเพาะปลูกลงแปลง และเพื่อให้แน่ใจควรนำเมล็ดที่จะเพาะปลูกไปแช่ในน้ำร้อนอุณหภูมิ 50 องศาประมาณ 20-30 นาทีก่อนปลูกเพื่อฆ่าเชื้อโรคต่างๆ ที่ติดมากับเมล็ด และควรปลูกผักโดยเว้นระยะห่างระหว่างต้นพอประมาณเพื่อให้อากาศสามารถถ่ายเทได้ดี แสงแดดส่องถึงลำต้นและใบอย่างทั่วถึง พุ่มใบของแต่ละต้นมีระยะห่างจากกัน เพื่อป้องกันโรคติดต่อระหว่างพืชได้ และควรปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อป้องกันการติดโรคในแปลงผัก แปลงนา ต่างๆ และควรหมั่นสังเกตต้นพืชในแปลงของเราสม่ำเสมอ หากพบพืชที่มีอาการเป็นโรคน้ำค้างควรใช้สารป้องกันและกำจัดฉีดพ่นบริเวณต้นพืช

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน รักษาโรคราน้ำค้าง และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟูพืช บำรุง สร้างภูมต้านทาน และส่งเสริมผลผลิต
ปลูกองุ่น ระวังการระบาด ของโรคราน้ำค้าง
ปลูกองุ่น ระวังการระบาด ของโรคราน้ำค้าง
กรมวิชาการเกษตร แจ้งว่าช่วงนี้อากาศเย็น และมีน้ำค้างในตอนเช้า ส่วนช่วงกลางวัน แดดจัดและมีอากาศร้อน แนะเกษตรกรผู้ปลูกองุ่นให้เฝ้าสังเกตอาการระบาดของโรคราน้ำค้าง มักพบในระยะใบอ่อนเปลี่ยนเป็นใบแก่ อาการที่ใบ เนื้อเยื่อบนใบเกิดแผลสีเหลืองอ่อน หากสภาพอากาศในตอนเช้ามีความชื้นสูง ที่ใต้ใบด้านตรงข้ามแผลจะพบเชื้อราสาเหตุโรคสีขาวขึ้นฟู ต่อมาแผลเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ถ้าโรคระบาดรุนแรง ก้านใบมีแผลช้ำ ใบจะเหลือง แห้ง และหลุดร่วง อาการที่ยอด เถาอ่อน และมือเกาะ มักพบเชื้อราสีขาวขึ้นฟูเป็นกลุ่มปกคลุม ยอดหดสั้น เถาและมือเกาะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและแห้ง อาการที่ช่อดอกและผลอ่อน จะพบเชื้อราสีขาวขึ้นฟูปกคลุม ทำให้ดอกร่วง ช่อดอกเน่า และผลอ่อนร่วง

หากพบโรคเริ่มระบาดให้เกษตรกรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ ตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่ง มีอากาศถ่ายเทสะดวก และให้เก็บส่วนที่เป็นโรคออกจากแปลงไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อลดการสะสมของเชื้อสาเหตุโรค หลีกเลี่ยงการตัดแต่งกิ่งในช่วงฤดูหนาวที่สภาพอากาศมีความชื้นสูง หรือช่วงที่ฝนตกชุก เพราะโรคจะระบาดรวดเร็วและรุนแรง อีกทั้งไม่ควรใส่ปุ๋ยที่มีค่าไนโตรเจนสูงเกินไป เพราะจะทำให้พืชอ่อนแอต่อการเกิดโรค กรณีพบโรคเริ่มระบาด ให้เกษตรกรตัดแต่งส่วนที่เป็นโรคนำออกไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ เพื่อป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้างองุ่น และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิต้านทาน ส่งเสริมผลผลิต
รับมือ โรคราน้ำค้าง ในพืชผักตระกูลกะหล่ำและผักกาด
รับมือ โรคราน้ำค้าง ในพืชผักตระกูลกะหล่ำและผักกาด
อากาศเย็นมีความชื้นสูงในตอนเช้า และอากาศร้อนในเวลากลางวันช่วงนี้ กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักตระกูลกะหล่ำและผักกาด อาทิ กวางตุ้ง กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก คะน้า ผักกาดขาว ผักกาดหอม และบรอกโคลี ให้เตรียมรับมือการระบาดของโรคราน้ำค้าง ที่สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของพืช จะพบอาการของโรคบนใบที่อยู่บริเวณด้านล่างของต้นก่อน จากนั้นแผลจะขยายลุกลามไปยังใบที่อยู่ด้านบนของต้นพืช โดยมีอาการเริ่มแรกบริเวณด้านบนใบเป็นจุดแผลสีเหลือง หรืออาจเป็นปื้นสีเหลือง

เมื่อสภาพอากาศมีความชื้นสูงในตอนเช้า มักพบเส้นใยเชื้อราเป็นขุยสีขาวถึงเทาตรงแผลด้านใต้ใบ หากพบโรคระบาดรุนแรง แผลจะลามขยายใหญ่ทำให้เนื้อใบเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ต่อมาใบจะเหลืองและแห้งตาย กรณีพบโรคในระยะต้นกล้า ใบเลี้ยงจะเกิดจุดแผลสีน้ำตาล ทำให้ต้นแคระแกร็นและตายในที่สุด ส่วนในกะหล่ำดอกและบรอกโคลี ถ้าพบเชื้อราเข้าทำลายรุนแรง ก้านดอกจะยืดและดอกอาจจะบิดเบี้ยวเสียรูปทรงได้

เกษตรกรควรเลือกใช้เมล็ดพันธุ์สะอาดที่มีคุณภาพดีจากแหล่งปลอดโรค และก่อนปลูกควรแช่เมล็ดพันธุ์ในน้ำอุ่นอุณหภูมิประมาณ 50 องศาเซลเซียส (ต้มน้ำจนเดือดแล้วเติมน้ำอุณหภูมิปกติลงไปผสมอีก 1 เท่า) นาน 20-30 นาที หรือคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชเมทาแลกซิล 35% ดีเอส อัตรา 10 กรัมต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม จากนั้น เกษตรกรควรปลูกพืชให้มีระยะห่างกันพอสมควร ไม่เบียดแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้เกิดความชื้นสูง อากาศไม่ถ่ายเท และโรคระบาดได้รวดเร็ว

หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตเรียบร้อยแล้ว เกษตรกรควรเก็บเศษซากพืชส่วนที่หลงเหลือในแปลง และหมั่นกำจัดวัชพืชในแปลงนำไปทำลายนอกแปลงปลูกทันที เพื่อลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค หลีกเลี่ยง การปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำในพื้นที่แปลงเดิม ควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียน และควรทำความสะอาดเครื่องมืออุปกรณ์ทางการเกษตรที่ใช้กับต้นเป็นโรคก่อนนำกลับมาใช้ใหม่กับต้นปกติทุกครั้ง

หากพบโรคเริ่มระบาด ให้เกษตรกรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชไดเมโทมอร์ฟ 50% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารเมทาแลกซิล 25% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารแมนโคเซบ 80% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 50 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารแมนโคเซบ+เมทาแลกซิล-เอ็ม 64%+4% ดับเบิ้ลยูจี อัตรา 80 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม 80% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 50 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร โดยพ่นให้ทั่วทั้งด้านบนใบและใต้ใบ ทุก 5-7 วัน

อังคณา ว่องประสพสุข : ข่าว

กรมวิชาการเกษตร

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้าง ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิต้านทาน และส่งเสริมผลผลิต
กรมวิชาการเกษตร เเนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตงให้ระวัง โรคราน้ำค้าง
กรมวิชาการเกษตร เเนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตงให้ระวัง โรคราน้ำค้าง
ในระยะที่มีลมแรงและอากาศเย็นลงช่วงนี้ กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตง อาทิ แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย เมล่อน แคนตาลูป ซูกินี ฟักเขียว ฟักทอง ฟักแม้ว มะระจีน และบวบ ให้หมั่นสังเกตการระบาดของ “โรคราน้ำค้าง” ที่สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของพืช มักพบแสดงอาการเริ่มแรกของโรคบนใบที่อยู่บริเวณด้านล่างของต้นมีแผลฉ่ำน้ำ ต่อมาแผลจะขยายลุกลามไปยังใบที่อยู่ด้านบนตามกรอบของเส้นใบย่อย ทำให้เห็นแผลเหลี่ยมเล็กเปลี่ยนเป็นสีเหลือง

กรณีที่มีความชื้นสูงในตอนเช้า จะพบเส้นใยของเชื้อราเป็นขุยสีขาวถึงเทาตรงแผลใต้ใบ จากนั้นแผลจะขยายติดต่อกันเป็นแผลขนาดใหญ่ และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ หากอาการรุนแรงจะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น ต้นพืชที่เป็นโรคจะติดผลน้อย ผลมีขนาดเล็ก คุณภาพของผลและความหวานจะลดลง ถ้าต้นพืชเป็นโรคในระยะมีผลอ่อน จะทำให้ผลลีบเล็กและบิดเบี้ยว

สำหรับพื้นที่ที่พบอาการของโรคนี้ หลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตเรียบร้อยแล้ว ให้เกษตรกรเก็บเศษซากพืชส่วนที่หลงเหลือและหมั่นกำจัดวัชพืชในแปลงนำไปทำลายนอกแปลงปลูกทันที เพื่อลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค อากาศถ่ายเทได้สะดวก และทำลายแหล่งอาศัยของด้วงเต่าแตง อีกทั้ง ควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนที่ไม่ใช่พืชตระกูลแตง และไม่ควรปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะในแปลงปลูกจะเกิดความชื้นสูง

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน กำจัดโรคราน้ำค้าง ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุ่ง เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง ส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิต
NSUT10-266: โคลนอ้อยดีเด่นน้ำตาลสูง
NSUT10-266: โคลนอ้อยดีเด่นน้ำตาลสูง
อ้อยโคลน NSUT10-266 ได้จากการผสมของพันธุ์แม่ Q76 กับพันธุ์พ่อ CP63-588 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ในปี 2553 แล้วนำมาคัดเลือกครั้งที่ 1 และ 2 แบบ Individual selection ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ ในปี 2554-2556 นำเข้าประเมินผลผลิตตามขั้นตอนปรับปรุงพันธุ์ ในอ้อยปลูก ตอ 1 และตอ 2 ซึ่งดำเนินการในศูนย์วิจัย และแปลงเกษตรกร จำนวน 12 แปลง รวมทั้งศึกษาข้อมูลปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงและแส้ดำ ระหว่างปี 2556-2563

ลักษณะเด่น
อ้อยโคลน NSUT10-266 ให้ผลผลิตน้ำตาลสูง 2.64 ตันซีซีเอสต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์ LK92-11 (2.27 ตันซีซีเอสต่อไร่) และขอนแก่น 3 (2.63 ตันซีซีเอสต่อไร่) ร้อยละ 16 และ 1 ตามลำดับ และมีความหวาน 15.7 ซีซีเอส ซึ่งสูงกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11 ที่มีความหวานเท่ากับ 14.6 ซีซีเอส ร้อยละ 7 ให้ผลผลิตอ้อย 17.0 ตันต่อไร่ ไม่แตกต่างจากพันธุ์ LK92-11 (16.5 ตันต่อไร่) นอกจากนี้ยังต้านทานปานกลางต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง ทรงกอตั้งตรง ทำให้มีการหักล้มน้อย กาบใบหลุดร่วงง่าย ประกอบกับไม่มีขนบนใบ จึงเหมาะกับการเก็บเกี่ยวด้วยแรงงานคน และรถเก็บเกี่ยว

พื้นที่ที่เหมาะสม
อ้อยโคลน NSUT10-266 เหมาะสมกับพื้นที่ดินร่วน ร่วนเหนียว และดินเหนียว เขตอาศัยน้ำฝน

ขณะนี้อยู่ระหว่างการเตรียมเสนอขอรับรองพันธุ์ เพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรได้ใช้พันธุ์ดีที่มีความหลากหลายมากขึ้น

สอบถามเพิ่มเติม : ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ 60190 โทรศัพท์ 0 5624 1019 โทรสาร 0 5624 1498 Email: [email protected]

ที่มา http://www.farmkaset..link..
หญ้าแม่มด
หญ้าแม่มด
หญ้าแม่มด (Witch weed; Striga asiatica) เป็นพืชที่ต้องอิงอาศัยพืชชนิดอื่น (obligate parasite) จัดเป็นวัชพืชใบกว้างฤดูเดียว มีอายุ 90-120 วัน ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด มีลำต้นตั้งตรง มีขนสีขาวปกคลุมทั่วลำต้น ขนาดความสูงประมาณ 15-40 เซนติเมตร มีดอกเดี่ยวสีขาว ออกตามซอกใบ ฝักมีสีน้ำตาลแก่ 1 ฝัก มีเมล็ดเฉลี่ย 736 เมล็ด หรือ 1 ต้น สร้างเมล็ดได้ถึง 200_000 เมล็ด เมล็ดมีชีวิตในดินได้นาน 15-20 ปี

พืชอาศัยของหญ้าแม่มดมีหลายชนิด ได้แก่ อ้อย ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ข้าวฟ่างหางกระรอก peal millet ข้าว ฯลฯ หลังเมล็ดงอก จะแทงรากเข้าไปในรากของพืชอาศัย เพื่อดูดกินน้ำเลี้ยง ทำให้พืชอาศัยแคระแกร็น หรือแห้งตาย

การป้องกันกำจัด

ใช้เมล็ดพันธุ์/ท่อนพันธุ์ จากแหล่งที่ไม่มีการระบาด
ระวังการแพร่กระจายของเมล็ด เนื่องจากมีขนาดเล็กคล้ายฝุ่น สามารถปลิวไปกับลม ไหลไปกับน้ำ ติดไปกับเครื่องมือ เครื่องจักรกลการเกษตร รวมทั้งผู้ปฏิบัติงานในแหล่งที่มีหญ้าแม่มด
ปลูกพืชหมุนเวียน ที่ไม่ใช่พืชอาศัย
กำจัดวัชพืชประเภทใบแคบวงศ์หญ้าที่เป็นพืชอาศัย
ไม่ควรใช้มือถอนหรือจอบดาย เพราะจะทำให้หญ้าแม่มดแตกหน่อใหม่จากลำต้นใต้ดิน
พ่นด้วยสารซัลเฟนทราโซน อัตรา 300 มิลลิลิตรต่อไร่ หลังพ่นสารสองเดือน หากยังมีการแตกต้นใหม่ ให้พ่นซ้ำอีกครั้ง
แหล่งข้อมูล :
FB สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย
http://www.farmkaset..link..
ที่มา http://www.farmkaset..link..
3509 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 9 รายการ
|-Page 291 of 351-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในลิ้นจี่
Update: 2566/05/04 09:38:58 - Views: 2985
คู่มือโรคมะพร้าว แนวทางการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อรา ที่เกิดขึ้นกับต้นมะพร้าว
Update: 2566/04/30 07:17:35 - Views: 3189
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน ศัตรูพืชสำหรับต้นเมล่อน
Update: 2567/02/27 13:29:06 - Views: 126
โรคราดำ (Black mildew)
Update: 2564/08/12 22:02:41 - Views: 3299
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยไฟ ศัตรูพืชสำหรับต้นมังคุด
Update: 2567/02/27 13:02:39 - Views: 199
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในกัญชากัญชง และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/08 11:00:10 - Views: 3076
ยากำจัดโรคใบไหม้ ใน ข้าวโพด โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/15 14:09:43 - Views: 4043
การประกอบโรคของพืช
Update: 2564/08/12 22:04:43 - Views: 3223
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 17113
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในผักกาดขาว และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/07 12:51:51 - Views: 2985
โรคใบไหม้ ในพืชต่างๆ ราน้ำค้าง ราสนิม ใบจุด พืชขาดธาตุอาหาร ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #โรคใบไหม้ #โรคพืชจากเชื้อรา
Update: 2564/11/01 08:17:32 - Views: 2966
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน มะม่วง เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/02/28 14:29:51 - Views: 2985
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าแมลงหวี่ขาว ในแตงกวา และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/27 13:34:02 - Views: 3172
ที่สุดของ ปุ๋ยเร่งผลลำไย ปุ๋ยลำไย ที่ให้ โพแทสเซียม มากถึง 40% เร่งผลโต น้ำหนักดี โปรดอ่านวิธีใช้
Update: 2565/02/13 20:22:30 - Views: 2994
ซูกินี่ (Zucchini)
Update: 2564/08/09 22:29:33 - Views: 3345
คำนิยม - ลูกค้าท่านนี้ใช้ ไอเอส กำจัดโรครา ใช้ FK-1 เร่งการแตกยอดแตกใบใหม่ค่ะ
Update: 2564/03/05 04:31:53 - Views: 2963
กำจัดเชื้อรา ถั่วเหลือง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/03 10:16:33 - Views: 2991
การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
Update: 2563/11/27 08:49:56 - Views: 5156
โรคข้าวโพด โรคราน้ำค้าง หรือโรคใบลาย (Corn Downy Mildew)
Update: 2564/02/09 22:35:16 - Views: 3144
การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง ระยะเวลาการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
Update: 2563/06/12 10:28:31 - Views: 3377
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022