[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3509 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 9 รายการ

หนอนเสาวรส หนอน กะทกลก ฆ่าหนอน ไอกี้ ปลอดสารพิษ เร่งฟื้นฟู บำรุง โตไว FK-T
หนอนเสาวรส หนอน กะทกลก ฆ่าหนอน ไอกี้ ปลอดสารพิษ เร่งฟื้นฟู บำรุง โตไว FK-T
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

หนอนเสาวรส ลักษณะการทำลาย
หนอนกระทู้ผัก ตัวอ่อนกัดกินใบ ก้านใบ ดอก ก้านดอก ก้านผล
หนอนเจาะลำต้น ตัวหนอนจะเจาะเข้าไปในลำต้นกัดกินใบเรื่อยๆ จนเป็นโพรงทำไห้ต้นแห้งตาย โตเต็มวันจะกัดกินเปลือกของก้านใบและช่อผล

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
อ่าน:3169
หนอนผักกระเฉด หนอนต่างๆ ไอกี้-บีที
หนอนผักกระเฉด หนอนต่างๆ ไอกี้-บีที
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

หนอนกระทู้ และหนอนใยผัก ที่ชอบเจาะลำต้นผักกระเฉด ทำให้ผักกระเฉดหลุดขาด และเน่าตาย

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
อ่าน:3040
แคลเซียม ช่วยเพิ่มผลผลิตและ ปรับปรุงดิน ได้อย่างไร
แคลเซียม ช่วยเพิ่มผลผลิตและ ปรับปรุงดิน ได้อย่างไร
สำหรับเกษตรกรมือใหม่ หรือผู้ที่เริ่มต้นปลูกพืชอาจจะไม่ทราบว่า พืชที่จะเจริญเติบโตได้ดี ออกผลผลิตได้มากและมีน้ำหนักดี จำเป็นจะต้องพึ่งพาสิ่งที่เรียกว่า ธาตุอาหารในการเจริญเติบโต ซึ่งธาตุอาหารเหล่านี้หากพืชได้ไม่ครบก็อาจจะแสดงอาการผิดปกติบางประการออกมา หรืออาจจะถึงขั้นไม่สามารถดำรงชีพได้ครบวงจร ไม่สามารถดำรงเผ่าพันธุ์ต่อไปและแน่นอนว่าอาจตายลงในที่สุด

ยกตัวอย่างธาตุอาหารจำเป็นสำหรับพืช เช่น

ไนโตรเจน (N) ช่วยให้พืชมีสีเขียว ส่งเสริมการเจริญเติบโตของใบ และลำต้น ทำให้ลำต้น และใบมีสีเขียวเข้ม ควบคุมการออกดอก และติดผลของพืช อีกทั้งเพิ่มปริมาณโปรตีนให้แก่พืช

ฟอสฟอรัส (P) ส่งเสริมการออกดอกและผล ติดเมล็ด การพัฒนาเมล็ดและผล เร่งการเจริญเติบโตของราก พร้อมช่วยเพิ่มความต้านทานต่อโรคพืช และมีส่วนช่วยในการเร่งการสุกแก่ของผลให้เร็วขึ้น

โพแทสเซียม (K) ช่วยพืชสร้างอาหาร (สังเคราะห์แสง) และมีส่วนช่วยทำให้รากแข็งแรง ทำให้รากดูดน้ำ และธาตุอาหารได้ดีขึ้น ทนทานต่อโรคแมลง อีกทั้งเพิ่มขนาดผลผลิต เมล็ด และช่วยเพิ่มคุณภาพของพืช ผัก และผลไม้ ทำให้พืชมีสีสัน เพิ่มขนาด และเพิ่มความหวาน

ซึ่งธาตุทั้งสามนี้ นับเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการเป็นจำนวนมาก แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะต้องการเพียงแค่นี้ ยังมีธาตุอาหารรองอีกหลายชนิดที่พืชเองก็ต้องการด้วยเช่นเดียวกัน โดยเราจะขอยกตัวอย่างหนึ่งในธาตุอาหารรองที่แสนจะสำคัญสำหรับพืช เพราะมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ของพืช บริเวณเนื้อเยื่อเจริญทั้งที่ปลายยอด ปลายราก ใบอ่อน การแตกตาอ่อนของกิ่ง ของตาดอก และการเจริญของดอกและผลเป็นสำคัญ นั่นก็คือ ธาตุแคลเซียม นั่นเอง

ทำความรู้จัก “ธาตุแคลเซียมช่วยเพิ่มผลผลิต”

ธาตุแคลเซียม มีความสำคัญในการเป็นธาตุอาหารรองสำหรับพืช โดยจัดเป็นส่วนประกอบของสารที่เชื่อมเซลล์สองเซลล์ให้ติดกัน เรียกว่า แคลเซียมเพคเตต ช่วยคงสภาพโครงสร้างของเซลล์พืชให้ทำงานปกติ ช่วยการดูดซึมธาตุโพแทสเซียม ช่วยลดพิษของธาตุแมกนีเซียม ทำให้พืชดูดซึมธาตุแมกนีเซียมมากขึ้น และนำธาตุแมกนีเซียมไปสร้างคลอโรฟิลล์ แคลเซียมจึงเป็นธาตุอาหารที่มีความสำคัญในด้านที่ช่วยให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ

หน้าที่สำคัญของธาตุแคลเซียมในพืช

มีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวกับโครงสร้างของผลไม้ คือ ช่วยเสริมสร้างเซลล์ และการแบ่งเซลล์ของพืช ซึ่งพืชต้องการอย่างต่อเนื่อง

ช่วยในการสร้างเซลล์และโครงสร้างของเซลล์ของพืช ช่วยให้เซลล์ติดต่อกัน และจะช่วยเชื่อมผนังเซลล์ให้เป็นรูปร่าง และขนาดให้เป็นไปตามลักษณะของพืชแต่ละชนิด ทำให้พืชแข็งแรง

ช่วยเพิ่มการติดผล

ช่วยให้สีเนื้อและสีผิวของผลสดใส

ช่วยลดการเกิดเนื้อของผลแข็งกระด้าง และเนื้อแฉะ

ช่วยป้องกันผลร่วง ผลแตก

มีบทบาทที่สำคัญในระยะการเจริญเติบโตและการออกดอกของพืช

มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการย่อยธาตุไนโตรเจน และช่วยให้พืชดูดไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เป็นตัวช่วยลดการหายในของพืช ทำให้พืชเหี่ยวช้า

เป็นตัวช่วยเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ทำให้ผักผลไม้มีรสชาติดี

ควบคุมการดูดน้ำเข้าไปในเซลล์พืช และป้องกันผลแตก

ทนทานต่อการเข้าทำลายของโรคและแมลง ไม่เน่าง่าย

วิธีการเติมแคลเซียมเพิ่มผลผลิตให้กับพืช

ปกติแล้วแคลเซียมนั้นเป็นธาตุที่ไม่เคลื่อนย้ายในพืช ดังนั้น การเพิ่มปริมาณแคลเซียมในดินเพื่อเพิ่มปริมาณแคลเซียมในผลไม้มักไม่ค่อยได้ผลดี การให้แคลเซียมที่ใบหรือผลโดยตรงดูจะเป็นวิธีการเพิ่มปริมาณแคลเซียมในผลที่ได้ผลที่สุด ซึ่งวิธีการเติมแคลเซียมเพิ่มผลผลิตให้กับพืชจะให้แคลเซียมช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวโดยการฉีดพ่นที่ผลบนต้น โดยสามารถใช้ผสมรวมไปกับสารเคมีฆ่าแมลงและฉีดพ่นต้นตามปกติได้เลย หรือการให้แคลเซียมกับผลหลังการเก็บเกี่ยวโดยการจุ่มผล หรือแช่ผลในระบบสุญญากาศหรือให้ความดันพาสารละลายแคลเซียมเข้าไปในผล

แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ควรคำนึงถึงปริมาณของแคลเซียมที่เหมาะสมเอาไว้ด้วย เพราะเกลือแคลเซียมบางชนิดอาจละลายน้ำได้ไม่ดี ถ้าหากความเข้มข้นของแคลเซียมไม่เหมาะสมอาจทำให้มีปริมาณแคลเซียมในผลไม่มากพอ หรือในทางตรงกันข้ามหากผลไม้ได้รับแคลเซียมมากเกินไปอาจทำให้ผลไม้เกิดความผิดปกติได้ ดังนั้น จึงควรนำแคลเซียมมาใส่ในน้ำส้มสายชูกลั่น (5%) 2 มิลลิลิตร ต่อสารละลาย 5 ลิตร เพื่อช่วยในการละลาย นอกจากนี้เกลือแคลเซียมในรูปต่างๆ อาจไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้ และบางชนิดอาจก่อให้เกิดอาการผิดปกติกับผลไม้ได้ จึงควรระมัดระวังในการใช้งาน

สรุป

จะเห็นได้ว่า พืชที่ได้รับแคลเซียมเพียงพอ โดยเฉพาะในส่วนของผลผลิต จะทำให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ มีอายุการเก็บรักษาได้นาน เป็นที่ต้องการของตลาด ในส่วนของการเพิ่มแคลเซียมให้พืชอย่างมีประสิทธิภาพนั้น นอกจากคำนึงถึงสภาพแวดล้อมดิน ที่มีความสมดุลของธาตุที่เมื่อเสริมธาตุแล้วจะทำให้พืชดูดซึมได้ดีแล้ว ควรคำนึงถึงวิธีการให้ธาตุอาหารด้วยการฉีดพ่นทางใบ หรือผลที่ทำให้พืชดูดซึมธาตุอาหารไปใช้ได้อย่างทันท่วงทีร่วมด้วย

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:2932
มันสำปะหลัง ทำลายดิน จริงหรือ
มันสำปะหลัง ทำลายดิน จริงหรือ
มันสำปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่ยังมีการเข้าใจผิด ว่าปลูกง่าย ไม่ต้องดูแลรักษา และการปลูกมันสำปะหลังยังเป็นการทำลายดิน และสิ่งแวดล้อม จึงถูกมองว่ามันสำปะหลังเป็นพืชที่มี ศักยภาพต่ำ แต่ที่จริงแล้ว
อ่านต่อที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:2944
โมลิบดินัม (Mo) หากขาดธาตุนี้ พืชคล้ายจะถูกจำกัดการเจริญเติบโต
โมลิบดินัม (Mo) หากขาดธาตุนี้ พืชคล้ายจะถูกจำกัดการเจริญเติบโต
การขาดโมลิบดีนัม (Mo)เกิดขึ้นเมื่อการเจริญเติบโตของพืชมีจำกัด เนื่องจากพืชไม่สามารถรับสารอาหารรองที่จำเป็นนี้ในปริมาณที่เพียงพอจากอาหารเลี้ยงเชื้อ สำหรับพืชที่ปลูกในดิน อาจเป็นผลมาจากความเข้มข้นของโมในดินโดยรวมต่ำ (กล่าวคือ วัสดุต้นกำเนิดของดินมีโมโมะต่ำ) หรือเนื่องจากดินโมจัดอยู่ในรูปแบบที่ไม่สามารถหาได้ พืช - การดูดซับของโมเป็นที่แข็งแกร่งที่สุดในดินกรด

ฟังก์ชั่น

ในพืชฟังก์ชั่นหลักของโมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงความจุที่ว่ามันผ่านส่วนประกอบของเอนไซม์ที่กระตุ้นความหลากหลายปฏิกิริยาปฏิกิริยา เนื่องจากองค์ประกอบสามารถอยู่ในสถานะออกซิเดชันที่หลากหลาย สถานะออกซิเดชัน IV_ V และ VI มีความสำคัญในระบบทางชีววิทยา จำนวนมากของความผิดปกติของ Mo-ขาดมีความเกี่ยวข้องกับการหยุดชะงักของกิจกรรมปกติของหลายเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องในการเผาผลาญอาหารไนโตรเจน

เอ็นไซม์เหล่านี้ได้แก่

ไนโตรซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทางชีวภาพN 2ตรึงโดยทั้งสอง asymbiotic และชีวภาพแบคทีเรียตรึงไนโตรเจน

ไนเตรตรีดักเตสซึ่งจำเป็นสำหรับการลดไนเตรต – นี่เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการรวมไนเตรต-Nในโปรตีน และ

Xanthine dehydrogenase ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์กรดยูริกจากพิวรีน

อาการ

อาการขาดโมลิบดีนัมในพืชส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการสะสมของไนเตรตในส่วนพืชที่ได้รับผลกระทบ นี่เป็นผลมาจากกิจกรรมไนเตรตรีดักเตสที่ไม่ดี อาการต่างๆ ได้แก่[1] [2]

ใบสีซีดที่มีคลอโรซิสระหว่างเส้นและขอบ(สีเหลือง) และเนื้อร้าย (น้ำร้อนลวก);

whiptailความผิดปกติในBrassicaพืช (โดยเฉพาะกะหล่ำ);

ลด tasselling ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์;

การงอกของเมล็ดข้าวโพดก่อนเวลาอันควร

ในพืชตระกูลถั่ว การยับยั้งการตรึงN 2อาจทำให้พืชซีด สีเหลือง และขาดไนโตรเจน ขนาดและจำนวนของก้อนรากมักจะลดลง

สภาพดิน

การขาดโมลิบดีนัมพบได้บ่อยในดินหลายประเภท ดินบางชนิดมีความเข้มข้นของ Mo ทั้งหมดต่ำ และดินบางชนิดมี Mo ที่พืชใช้ได้ต่ำเนื่องจากการดูดซับ Mo อย่างแรง อาการมักเกิดขึ้นกับทั้งสองเงื่อนไข เช่น ในดินปนทรายที่เป็นกรด โมลิบดีนัมอาจถูกดูดซับอย่างรุนแรงในดินที่เป็นหินเหล็ก ปูนของดินบ่อยบรรเทาการขาด Mo Mo โดยการลดการดูดซับ [2]

ข้อกำหนดโมลิบดีนัม

โมลิบดีนัมเป็นสารอาหารรองที่จำเป็นซึ่งหมายความว่าจำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช แต่ต้องการในปริมาณที่น้อยมาก แม้ว่าความต้องการ Mo จะแตกต่างกันไปตามพืชผล แต่ความเข้มข้นของใบ Mo (บนพื้นฐานเรื่องแห้ง ) ในช่วง0.2–2.0 มก. กก. -1ก็เพียงพอสำหรับพืชส่วนใหญ่

การรักษา

การเพิ่มค่า pH ของดินโดยการใส่ปูนจะช่วยบรรเทาอาการขาด Mo อย่างไรก็ตาม มีหลายสถานการณ์ที่การใช้ปุ๋ย Mo ทางดิน เมล็ด หรือทางใบนั้นคุ้มค่ากว่าการใช้ปูนขาวเพื่อเพิ่มความพร้อมของ Mo สารประกอบที่ใช้เป็นปุ๋ย ได้แก่ (ตามลำดับความสามารถในการละลายที่ลดลง): โซเดียม โมลิบเดต แอมโมเนียม โมลิบเดต กรดโมลิบดิก โมลิบดีนัม ไตรออกไซด์ และโมลิบดีนัมซัลไฟด์ อัตราการใช้ดินและทางใบโดยทั่วไปคือ50–200 ก. โมฮา-1 ; อัตราที่แนะนำสำหรับช่วงการรักษาจากเมล็ด7-100 กรัมโมฮ่า -1 [1]

อ้างอิง

^ a b c d e Hamlin_ รัสเซลล์ แอล. (2007). "โมลิบดีนัม". ใน Barker_ AV; พิลบีม_ ดีเจ (สหพันธ์). คู่มือของธาตุอาหารพืช โบคา เรตัน: สำนักข่าวซีอาร์ซี น. 375–394. ISBN 978-0824759049.

อรรถเป็น ข Mengel คอนราด; เคิร์กบี้_ เออร์เนสต์ เอ. (2001). "โมลิบดีนัม". หลักโภชนาการพืช (ฉบับที่ 5) Dordrecht: สำนักพิมพ์ Kluwer Academic น. 613–619. ISBN 079237150X.

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link.._(plant_disorder)
อ่าน:3444
ปัญหาดินเสีย และวิธีแก้ไขดินเสีย ให้ทำการเกษตรได้ดีขึ้น
ปัญหาดินเสีย และวิธีแก้ไขดินเสีย ให้ทำการเกษตรได้ดีขึ้น
เกษตรกรที่ทำงานเกษตรต่างๆ ส่วนมากต้องอาศัยดินเพื่อการปลูกพืช ก็เปรียบได้ว่าดินเป็นเหมื่อนต้นกำหนดแห่งชีวิตเลย แต่พอทำไปนานๆเข้ามันมักจะเกิดปัญหาเพราะดินต้องทำงานหนักมากจนเกินไป เจอพืชที่ทำลายดิน เจอยาฆ่าแมลง ไปมากๆเข้าดินอาจรับไม่ไหว ดินบางพื้นที่อาจได้รับปัญหาอื่นอีกมาก วันนี้เราจะมาพูดถึงสาเหตุที่ทำให้ดินเสีย และวิธีแก้ เพื่อที่ชาวเกษตรกรจะได้หลีกเลี่ยงการทำให้ดินเสียได้บางทีก็อาจทำลายดินหรือแหล่งรายได้ของตัวเองโดยไม่รู้ตัว และใครที่ดินเสียแล้วจะได้ไม่หมดกำลังใจในการทำงาน

ปัญหาดินเสีย

โดยสาเหตุการทำให้ดินเสียมี 2 ประเภท ด้วยกันใหญ่

1.เสียโดยธรรมชาติทำลาย คือ ลมแรง กระแสน้ำกัดเซาะพัดพาหน้าดินหลุดลอยหายไป

2.เสียโดยมนุษย์ทำลาย คือ

2.1 ปัญหาใหญ่เลยก็คือการตัดไม้ทำลายป่า เวลาฝนตกจะไม่มีอะไรดูดน้ำหรือรักษาหน้าดินไว้ จึงทำให้น้ำกัดเซาะหนาดินที่ดีไปหมด

2.2 ชาวเกษตรการทำการเกษตรไม่ถูกวิธี คือ

-การปลูกพืชชนิดเดียวกันเป็นเวลานานโดยไม่เปลี่ยนหรือวนปลูกพืชชนิดอื่น จะทำให้ธาตุอาหารตามระดับความลึกของรากพืชถูกนำไปใช้มากจนดินเสื่อมความสมบูรณ์

-การใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีต่างๆเป็นเวลานาน มันอาจจะได้ผลดีกับพืชแต่จะไปทำลายดินและผู้บริโภคได้

-การไถหรือพรรณดินในขณะที่ดินเปียก

-การขุดหน้าดินไปขาย

-การเผาหน้าดิน

วิธีป้องกันไม่ให้ดินเสีย

1.การปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวหน้ากระดานเพื่อเป็นการป้องกันการกัดเซาะหน้าดิน

2.การปลูกพืชคลุมดิน เพื่อเป็นการรักษาหน้าดินไม่ให้เกิดการพังทลาย และจะได้ช่วยเก็บน้ำให้อยู่ในดินในชุมชื้น

3. การปลูกพืชตะกูลถั่วเอาสลับกับพืชชนิดอื่น เพื่อเป็นการเพิ่มไนโตเจนให้กับดิน

4. การใช้ปุ๋ยพืชสดและปุ๋ยคอกแทนปุ๋ยเคมีเพื่อเป็นการไม่ทำให้ดินเสียและรักษาดินได้

5.ปลูกไม้ยืนต้นที่ช่วยบำรุงดิน อย่าง ฉำฉา กระถินเทพา กระถินณรงค์ เป็นต้น

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..ารเกษตร.com/สาเหตุที่ทำให้ดินเสีย/
อ่าน:3483
ปลูกพืชในดินลูกรัง การจัดการ ดินลูกรัง ที่ถูกวิธี ช่วยเพิ่มผลผลิตพืชได้
ปลูกพืชในดินลูกรัง การจัดการ ดินลูกรัง ที่ถูกวิธี ช่วยเพิ่มผลผลิตพืชได้
ดินลูกรัง (Skeletal soils) หมายถึง ดินที่พบชั้นลูกรัง ชั้นกรวด ชั้นเศษหิน หรือชั้นหินพื้นในระดับตื้นกว่า 50 เซนติเมตร จากผิวดิน เนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วนถึงดินร่วนปนทราย อาจพบกรวด หินมนเล็ก หรือเศษหินปะปน จึงทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืช

การจัดการดินลูกรังเพื่อเพิ่มผลผลิต

ดินลูกรัง (Skeletal soils)หมายถึง ดินที่พบชั้นลูกรัง ชั้นกรวด ชั้นเศษหิน หรือชั้นหินพื้นในระดับตื้นกว่า 50 เซนติเมตร จากผิวดิน เนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วนถึงดินร่วนปนทราย อาจพบกรวด หินมนเล็ก หรือเศษหินปะปน จึงทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืช ดินลูกรังเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ จากผลการสำรวจพบว่า ประเทศไทยมีดินลูกรังประมาณ 52 ล้านไร่ หรือร้อยละ 16.3 ของพื้นที่ทั้งประเทศ พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรของดินลูกรัง

พื้นที่ที่พบดินลูกรังมีอยู่เกือบทุกภาคของประเทศ ยกเว้นในเขตฝนตกชุกทางภาคใต้ ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรที่สำคัญ คือเป็นดินตื้นที่มีกรวดหินมนเล็กหรือเศษหินปะปนกันอยู่มาก ทำให้ดินมีปริมาณเนื้อดินน้อยลง มีความสามารถในการอุ้มน้ำต่ำ นอกจากนี้ลักษณะของดินเป็นอุปสรรคต่อการไถพรวนหน้าดินถูกชะล้างพังทลายได้ง่าย ดินมีความสมบรูณ์ต่ำ และการจัดระบบชลประทานมีความเป็นไปได้น้อย เนื่องจากสภาพพื้นที่ไม่อำนวย

ดินลูกรัง เป็นดินที่มีศักยภาพในการเกษตรต่ำ เนื่องจากดินชั้นล่างแน่นทึบเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต นอกจากนี้ดินที่มีกรวดปนมักเป็นดินที่ขาดความชุ่มชื้นได้ง่าย และปัญหาอีกอย่างหนึ่งคือ มีข้อจำกัดในการเลือกชนิดของพืชปลูก โดยเฉพาะไม้ยืนต้นและไม้ผลจำเป็นต้องจัดการเป็นพิเศษ ในการเตรียมหลุมปลูก การปลูกพืชติดต่อกันในดินนี้จะทำให้ปริมาณธาตุอาหารในดินลดลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากหน้าดินมักเกิดการกร่อนได้ง่าย ปัจจุบันดินนี้ยังใช้ประโยชน์ในด้านการเพาะปลูกไม่มากนัก ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วยป่าไม้จำพวกป่าแดงโปร่ง

แนวทางแก้ไขและการใช้ประโยชน์ดินลูกรัง

ดินลูกรังเป็นดินที่มีข้อจำกัดต่าง ๆ มาก การแก้ไขปัญหาเพื่อใช้ประโยชน์จากดินนี้อาจทำได้หลายแนวทาง คือ

1. การทำทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ เหมาะกับดินลูกรังที่พบในที่ดอนและมีหน้าดินหนาเกิน 15 ซม. ขึ้นไป

2. การปลูกพืชไร่ ดินลูกรังที่มีหน้าดินหนา ประมาณ 20 ซม. มีการระบายน้ำดีปานกลาง ไม่มีน้ำท่วมขังในฤดูฝน สามารถปลูกพืชไร่ได้หลายชนิด เช่น ข้าว ฟ่าง ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง และพืชรากตื้นอื่น ๆ แต่ควรมีการบำรุงรักษาความอุดมสมบรูณ์ของดินโดยการใส่ปุ๋ย และรักษาความชื้นของดินโดยใช้วัสดุคลุมดิน

3. การปลูกไม้ผลและไม้โตเร็ว ดินลูกรังจะไม่จับกันเป็นชั้นแน่นมากนักสามารถปลูกไม้ผลและไม้โตเร็ว เช่น มะม่วง มะม่วงหิมพานต์ มะขาม ยูคาลิปตัส กระถินต่างๆ สะเดา ขี้เหล็กบ้าน น้อยหน่า พุทรา และไผ่ ส่วนยางพาราสามารถปลูกได้ในบริเวณที่มีปริมาณฝนมากกว่า 1_400 มม. /ปี

4. การทำนา ดินลูกรังที่พบในที่ราบหรือที่ราบต่ำที่มีหน้าดินลึกประมาณ 15 ซม. และมีการระบายน้ำเลวในช่วงฤดูฝนมีน้ำขังแฉะเป็นเวลานาน ควรใช้ปลูกข้าวและมีการใส่ปุ๋ยซึ่งจะช่วยให้ข้าวมีผลผลิตคุ้มค่ากับการลงทุน

อย่างไรก็ตาม ดินลูกรังที่มีหน้าดินตื้น ไม่ควรใช้ในการเพาะปลูกพืชที่ต้องมีการไถพรวนดิน เช่น มันสำปะหลัง ข้าวโพด หากไม่จำเป็นจึงไม่ควรนำมาใช้ในการเพาะปลูกแต่ควรปล่อยให้เป็นพื้นที่ป่าไม้ตลอดไป

การปรับปรุงดินลูกรังให้เหมาะสมต่อการปลูกพืช

ในการปรับปรุงบำรุงดินลูกรังเพื่อปลูกพืชเพื่อเพิ่มผลผลิต โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุสามารถทำได้โดย

1. การไถกลบฟางข้าว และรดด้วยปุ๋ยอินทรีย์น้ำอัตรา 5 ลิตร/ไร่ หมักทิ้งไว้ช่วยให้ฟางย่อยสลายเร็วขึ้นเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน

2. ใส่ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก อัตรา 2 - 4 ตัน/ไร่ คลุกเคล้ากับดินในแปลงปลูกพืช หรือในบริเวณหลุมปลูกไม้ผล ในอัตราเฉลี่ย 25 - 50 กิโลกรัมต่อหลุม

3. ปลูกพืชปุ๋ยสด เช่น ปอเทือง ถั่วพุ่ม ถั่วพร้า แล้วไถกลบลงดิน ในช่วงออกดอก (อายุประมาณ 50 - 60 วัน หลังปลูก) ก่อนปลูกพืชหลักทุกชนิดเพิ่มอินทรีย์วัตถุ ทำให้ดินร่วนซุย การถ่ายเทอากาศดีการระบายน้ำดีดินมีความอุดมสมบรูณ์เพิ่มขึ้น

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:4616
ยาฆ่าหนอนลิ้นจี่ ชีวภาพ ไอกี้ 490 บาท และฟื้นฟูบำรุง FK-T 890 บาท โปรฯซื้อคู่เพียง 990 บาท
ยาฆ่าหนอนลิ้นจี่ ชีวภาพ ไอกี้ 490 บาท และฟื้นฟูบำรุง FK-T 890 บาท โปรฯซื้อคู่เพียง 990 บาท
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

หนอนเจาะขั้วผลลิ้นจี่ จัดเป็นแมลงศัตรูอันดับหนึ่ง ที่ทำความเสียหายให้แก่ผลผลิตของลิ้นจี่ หนอนเจาะทำลายผลอ่อน เจาะขั้นผลแก่ ทำให้ผลร่วง หนอนโตเต็มที่ลำตัวยาว 8-10 มิลลิเมตร ก่อนเข้าดักแด้จะสร้างรังดักแด้ห่อหุ้มตัวเอง และเข้าดักแด้ที่ใบแก่
หนอนเจาะกิ่ง หรือหนอนเจาะลำต้น ทำลายพืชเศรษฐกิจอื่นๆ อีกหลายชนิด ตัวหนอนเจาะเข้าทำลายกิ่งทำให้หัก และเจาะส่วนของลำต้นด้วย หนอนมักหลบซ่อนตัวอยู่ภายในกิ่งหรือลำต้น
หนอนชอนใบลิ้นจี่ หรือหนอนเจาะเส้นกลางใบ รูปร่างลักษณะของไข่ หนอน รังดักแด้ ดักแด้ และผีเสื้อ คล้ายกับหนอนเจาะขั้นผลมาก ระยะหนอนเจาะเข้าทำลาย ยอดอ่อน ใบอ่อน ใบเพสลาดโดยเจาะเส้นกลางใบ ส่วนที่ถูกทำลายจะแห้งตาย

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
อ่าน:2968
กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่งด้วย ไอกี้ ปลอดภัย 490 บาท ฟื้นฟูบำรุง FK-T 890 บาท โปรฯซื้อคู่ เพียง 990 บาท
กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่งด้วย ไอกี้ ปลอดภัย 490 บาท ฟื้นฟูบำรุง FK-T 890 บาท โปรฯซื้อคู่ เพียง 990 บาท
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

หนอนกระทู้ผักเป็นแมลงที่มีพืชอาหารมากมาย พบทำลายทั้งในพืชผัก พืชไร่ และผลไม้ ในกรณีของหน่อไม้ฝรั่งการทำลายที่ก่อให้เกิดความเสียหายเกิดจากตัวโตกัดกินหน่อไม้ฝรั่งที่กำลังเติบโต ทำให้เกิดรอยแหว่งเป็นรูลึก และหน่อไม้ฝรั่งเสียคุณภาพ

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
อ่าน:2969
หนอนบัว หนอนกัดกินใบบัว ใช้ ไอกี้ และ บำรุง เร่งฟื้นฟูด้วย FK-T
หนอนบัว หนอนกัดกินใบบัว ใช้ ไอกี้ และ บำรุง เร่งฟื้นฟูด้วย FK-T
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

หนอนชอนใบ หนอนกินใบ จะกัดกินใบจนไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้มักจะระบาดในฤดูแล้ง
หนอนผีเสื้อ หนอนกอ เป็นศัตรูที่สำคัญและระบาดได้ตลอดปี เกิดจากผีเสื้อกลางคืนวางไข่ เมื่อฟักแล้วหนอนจะกัดกินใบบัวทำให้ฉีกขาด

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
อ่าน:3347
3509 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 9 รายการ
|-Page 240 of 351-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ลองกอง ใบแห้ง ยอดแห้ง ผลเน่า ราดำ ราแป้ง กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในลองกอง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย ศัตรูพืช
Update: 2565/11/08 09:23:51 - Views: 3077
ระวัง โรคราแป้ง ในต้นมะเขือเทศ สร้างเสียหายได้มาก ป้องกันได้อย่างไร?
Update: 2566/10/31 14:05:32 - Views: 504
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่าคอดิน ในคะน้า ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/27 13:45:31 - Views: 3019
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสีเทา ในกัญชา กัญชง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/21 11:55:10 - Views: 3528
พริกยอดหงิก ใบหงิก ขอบใบม้วน เพราะเพลี้ยดูดกินน้ำเลี้ยง กำจัดด้วย มาคา
Update: 2562/08/10 10:25:33 - Views: 3217
5 เคล็ดลับ เลือกข้าวหอมมะลิยังไงให้ได้ข้าวที่หุงแล้วหอม สวย ขึ้นหม้อ
Update: 2563/05/13 17:09:38 - Views: 5289
ชมพู่แดง ชมพู่ทับทิมจันทร์ เร่งโต เพิ่มผลผลิต ป้องกันโรค และแมลง และหนอน
Update: 2564/04/22 11:28:26 - Views: 3367
ผักอินทรีย์ นครปฐม โครงการสามพรานโมเดล
Update: 2557/08/18 14:26:32 - Views: 3090
สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดเพลี้ย มาคา แก้ปัญหา เพลี้ย และแมลงปากดูดต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/03/07 12:32:03 - Views: 5438
อุตสาหกรรมมันเส้น และการผลิตมันเส้น
Update: 2555/04/11 14:56:21 - Views: 3218
โรคใบไหม้ในหน้าวัว และโรคใบไหม้ใน สาวน้อยปะแป้ง
Update: 2563/11/16 07:16:11 - Views: 5237
ธาตุแคลเซียม - CALCIUM สำคัญ และเป็นพระโยชน์ต่อพืชเป็นอย่างมาก เสริมแคลเซียมด้วย FK-1
Update: 2562/08/23 08:18:33 - Views: 4528
โรคราชนิดต่างๆในลำไย ราแป้ง ราดำ ราน้ำค้าง ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส
Update: 2562/08/15 12:26:58 - Views: 3260
การจัดการกับหนอนศัตรูพืชที่ทำลายดอกบานไม่รู้โรย: วิธีป้องกันและกำจัด
Update: 2566/11/13 13:29:48 - Views: 296
หนอนหมี บุกสวนยางที่กระบี่ ชาวบ้านไม่กล้ากรีดยาง
Update: 2564/08/14 22:09:43 - Views: 3912
การปลูกมันสำปะหลังอย่างยั่งยืน: แนวทางปฏิบัติเพื่อพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
Update: 2566/04/26 13:53:13 - Views: 11292
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าด้วงกุหลาบ ในสวนปาล์ม และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/27 09:59:11 - Views: 4183
ยาแก้โรครา ในถั่วเขียว และถั่วต่างๆ รากำจัดเพลี้ยใน ถั่ว ถั่วเขียว ยากำจัดหนอน และ ปุ๋ยสำหรับ ถั่วต่างๆ
Update: 2563/06/28 12:38:39 - Views: 4915
ทำความรู้จักกับศัตรูของกาแฟ: การรับมือกับเพลี้ยในต้นกาแฟ
Update: 2566/11/24 12:57:19 - Views: 346
คำนิยม - ลูกค้า ไอกี้บีที กำจัดหนอนปลอดสารพิษ
Update: 2562/09/15 21:25:45 - Views: 2948
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022