<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย

ลิปสติก สารประกอบในลิปสติก อันตรายหรือไม่?

172.71.218.76 2565/11/16 14:07:25 , View: 3399, e
ลิปสติก สารประกอบในลิปสติก อันตรายหรือไม่?

ลิปสติก เป็นเครื่องสำอางชนิดแรก ที่หลาย ๆ คนรู้จักเลยก็ว่าได้ เพราะสีสันเด่นสะดุดตา ทาปากแล้วช่วยให้ดูสวย เพิ่มความมั่นใจได้ในทันที แต่เคยรู้หรือไม่ ว่าเจ้าแท่งสีที่ไว้ทาปากทุกวันนี้ มีสารอะไรเป็นส่วนผสมบ้าง ทาบ่อย ๆ แล้ว ในระยะยาว จะส่งผลอันตรายต่อร่างกายบ้างหรือไม่

หากคุณเป็นคนหนึ่งที่ชอบใช้ลิปสติก แล้วอยากรู้ว่า เครื่องสำอางชนิดนี้มีส่วนผสมอะไรบ้าง และมีสารอะไรในลิปสติกที่ควรหลีกเลี่ยง เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย

ลิปสติก ไม่ได้ผสมด้วยสีที่ทาแล้วช่วยให้ปากดูเด่น สะดุดตา ช่วยให้ริมฝีปากของสาว ๆ ดูอวบอิ่มเพียงอย่างเดียว หากแต่ประกอบด้วยสารอื่น ๆ ที่ช่วยให้ปากนุ่ม ชุ่มชื้นและคงตัวอยู่ได้นาน โดยมีสารประกอบหลักอยู่ 3 องค์ประกอบด้วยกันคือ

1. น้ำมัน (oil)

น้ำมันถูกนำมาใช้เป็นส่วนประกอบในลิปสติก เพราะมีคุณสมบัติช่วยผสานส่วนผสมอื่น ๆ ให้เนียนเป็นเนื้อเดียวกัน และเพิ่มสัมผัสนุ่มลื่น ทำให้เวลาทาปาก สามารถทาติดริมฝีปากได้ง่าย นอกจากนี้ ยังช่วยให้ริมฝีปากนุ่ม ชุ่มชื้น แก้ปัญหาริมฝีปากแห้ง แตกเป็นขุยได้อีกด้วย

โดยชนิดของน้ำมันที่นิยมนำมาใช้เป็นส่วนประกอบในลิปสติก มีหลากหลายไม่ว่าจะเป็น น้ำมันลาโนลิน น้ำมันแคสเตอร์ (น้ำมันละหุ่ง) น้ำมันโจโจ้บา น้ำมันมะกอก ทั้งนี้ บางผลิตภัณฑ์ยังมีการนำเอาเนย ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นไขมัน มาใช้ทดแทนน้ำมันอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็น เชียร์ บัตเตอร์ (Shea Butter) เนยโกโก้ (Cocoa Butter) เพราะสามารถให้ความชุ่มชื้นได้เหมือนกัน และยังมีกลิ่นหอมมากกว่า

สำหรับสัดส่วนของน้ำมันในลิปสติกนั้น จะมีความมากน้อยแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสูตรของแบรนด์เครื่องสำอางนั้น ๆ ว่าต้องการให้ลิปสติกมีความเข้มข้นของสัมผัสเวลาทาหรือความชัดเจนของเม็ดสี มีมากน้อยขนาดไหน เพราะน้ำมันที่มากขึ้น หมายถึง สามารถทาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ส่วนถ้าน้ำมันน้อยลง จะเพิ่มสัดส่นในเรื่องของเม็ดสี ส่งผลให้เม็ดสีมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นนั่นเอง

2. แวกซ์ (wax)

องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้ส่วนผสมลิปสติกทั้งหมด ขึ้นรูปเป็นแท่งและคงตัวอยู่ได้นาน เพราะมีจุดเดือดสูงกว่าส่วนผสมอื่น ๆ ทั่วไป โดยในลิปสติก 1 แท่งนั้น อาจประกอบด้วยแวกซ์มากกว่า 1 ชนิดเช่น ขี้ผึ้ง_ แคนเดลลิลา แวกซ์_ คาร์นูบา แวกซ์ ซึ่งด้วยแวกซ์แต่ละชนิดก็มีลักษณะเฉพาะตัว นั่นจึงทำให้ลิปสติกแต่ละชนิดก็อาจมีเนื้อสัมผัสที่แตกต่างกันด้วย ตัวอย่างเช่น ลิปสติกที่มีส่วนผสมของแคนเดลลิลา แวกซ์ จะมีเนื้อเงางาม ดึงดูดสายตา น่าใช้สอยกว่าลิปสติกอื่น ๆ เพราะแวกซ์ชนิดนี้มีคุณสมบัติโปร่งแสง ส่วนลิปสติกที่มีส่วนผสมของคาร์นูบา แวกซ์ จะมีเนื้อที่แน่น แข็ง ทนความร้อนได้ดีกว่าลิปสติกแบบอื่น ๆ เพราะคาร์นูบา แวกซ์ มีจุดเดือดสูงมากกว่า 87 องศาเซลเซียส เป็นต้น

3. เม็ดสี (pigment)

เม็ดสี ก็คือสิ่งที่กำหนดเฉดสีของลิปสติก ทำให้เวลาทาแล้ว จะเห็นออกมาเป็นสีสันต่าง ๆ โดยมีทั้งแบบที่ใช้สีจากวัสดุธรรมชาติ เช่น ผัก ผลไม้ ดอกไม้ ตัวอย่างเช่น สีเหลืองจากขมิ้น สีแดงจากบีทรูทหรือทับทิม สีน้ำเงินจากดอกอัญชันหรือดอกอัลคาเนต (Alkanet) และสีเหลืองจากดอกดาวเรืองฝรั่ง (Calendula) กับอีกแบบหนึ่งก็คือ สังเคราะห์ขึ้นมาด้วยกระบวนการทางเคมี โดยประเภทหลังนี้ สามารถเข้าสู่ร่างกายได้ โดยไม่เกิดอันตราย เพราะเป็นสีประเภทเดียวกันกับที่ใช้ทำสีผสมอาหาร เมื่อใช้งานในระยะยาว จึงไม่ส่งผลอันตรายใด ๆ ต่อร่างกาย ยกเว้นสารให้สีที่กลั่นจากปิโตรเลียม เช่น D&C RED 17_ D&C RED 31 จะส่งผลอันตรายต่อร่างกายได้ ไม่ว่าจะเป็นทำให้ปากคล้ำ หรือ ก่อให้เกิดโรคมะเร็งบางชนิด

สารในลิปสติกอะไรบ้าง ที่ก่อให้เกิดอันตราย

ด้วยความที่ผู้หญิง ใคร ๆ ก็ใช้ลิปสติก และเป็นเครื่องสำอางที่มีความต้องการสูงมาก เพราะใช้แล้วก็หมดไป ต้องซื้อใหม่อยู่ตลอด จึงทำให้มีคนจำนวนไม่น้อยคิดทำลิปสติกขึ้นมาเอง เพื่อจัดจำหน่าย ซึ่งก็อาจมีผู้ที่ไม่หวังดี มุ่งแสวงหากำไร โดยการผลิตลิปสติกที่ไม่ได้รับมาตรฐานออกมาจำหน่าย ที่อาจมีการใส่สารละลายหรือสารเคมี มาทดแทนสารสกัดจากธรรมชาติ ทำให้หากใช้แล้ว อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ ตลอดจนได้รับผลข้างเคียงอื่น ๆ ดังนั้น หากคุณเป็นผู้บริโภคคนหนึ่งที่ซื้อลิปสติกเป็นประจำ แล้วต้องการหลีกเลี่ยงลิปสติกที่ไม่ดีแล้วละก็ นี่คือส่วนผสมที่คุณควรรู้จัก และหลีกเลี่ยงเวลาซื้อลิปสติก

1. สารกลุ่มเรตินอยด์ (Retinoids)

เป็นสารสังเคราะห์วิตามินเอเข้มข้น ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในยาเท่านั้น ซึ่งแม้ว่าจะถูกเคลมว่า มีคุณสมบัติช่วยฟื้นฟูผิวพรรณ และทำให้ปากเนียนสวย แต่หากใส่ในปริมาณมากอาจเป็นตัวเร่งให้ปากเกิดปฏิกิริยาต่อแสงแดด ทำให้ปากคล้ำ ส่งผลร้ายต่อ DNA ในร่างกาย ทำให้เสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนังได้ โดยสารกลุ่มเรตินอยด์ อาทิ กรดวิตามินเอ (Retinoic acid)_ เรตินัลดีไฮด์ (Retinaldehyde) และเรตินิล พัลมิเทต (Retinyl Palmitate)

2. สารสังเคราะห์วิตามินอี (Tocopheryl Acetate)

ใช้เพื่อเพิ่มความคงตัวให้กับผลิตภัณฑ์คล้ายกับสารกลุ่มเรตินอยด์ส์ อาจไม่มีผลกระทบมากต่อสุขภาพร่างกาย แต่หากเราใช้ทาบ่อย ๆ เป็นประจำโดยไม่ทำความสะอาดให้ดี สารตัวนี้จะสะสมและทำให้ริมฝีปากระคายเคือง แห้งแตก รวมถึงเป็นขุยเอาได้

3. สารสกัดจากน้ำมันในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม

เช่น มิเนรัล ออยล์ (Mineral Oil) หรืออีกชื่อคือ พาราฟินเหลว (Liquid paraffin)_ ปิโตรเลียม เจลลี่ (Petrolatum)_ ไซลีน (Xylene)_ โทลูอีน (Toluene) ที่ช่วยในเรื่องของความชุ่มชื้น ดูดซับส่วนผสมของลิปสติกในเข้าได้ดี แต่มีสารเสี่ยงอันตรายอย่าง PAHs ที่ก่อให้เกิดสิวอุดตัน ผิวหน้าระคายเคืองอยู่ในตัว

4. สารในกลุ่มโลหะหนัก

สารในกลุ่มโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว (Lead) ปรอท (Mercury) อะลูมินัม (Aluminum) โครเมียม (Chromium) แคดเมียม (Cadmium) แมงกานีส (Manganese) มักมีการเติมลงไป เพื่อเพิ่มความเงาแวววาวให้กับลิปสติก แต่จริง ๆ แล้วเป็นสารที่ก่อให้เกิดอันตรายมาก ๆ โดยเฉพาะต่อผู้หญิงตั้งครรภ์ เพราะหากเผลอกินลิปสติกเข้าไป อาจกระทบต่อการเจริญเติบโตของลูกน้อยได้ ทำให้เสี่ยงเกิดมะเร็ง ทำลายระบบประสาท ลดการทำงานของไต บางรายอาจมีอาการซึมเศร้าร่วมด้วย

5. สารกันเสีย

ได้แก่ สารเคมีกลุ่มพาราเบน เช่น เมทิลพาราเบน (Methylparaben) หรือ โพรพิลพาราเบน (Propylparaben) รวมถึงสารกันหืน BHT (Butylated Hydroxytoluene) และ BHA (Butylated Hydroxyanisole) ที่อาจส่งผลให้อวัยวะภายในร่างกายเสี่ยงเป็นพิษเรื้อรัง ตามมาด้วยอาการปวดหัว อาเจียน และหายใจไม่ออก

เคล็ดลับการเลือกซื้อ ลิปสติก ให้ปลอดภัย

1. เลือกซื้อลิปสติกที่มีมาตรฐานการผลิต

ด้วยปัจจุบัน มีผู้ผลิต ลิปสติก ออกมาจัดจำหน่ายจำนวนมาก การแยกแยะเบื้องต้นว่าเป็นของดีหรือไม่ดี สามารถดูได้จากการพิจารณาว่า ลิปสติกแบรนด์นั้น ๆ มีเครื่องหมายที่รองรับมาตรฐานการผลิตหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็น อย. GMP HACCP เนื่องจากล้วนเป็นหน่วยงานหรือองค์กร ที่คอยควบคุมดูแลให้ผู้ประกอบการหรือเจ้าของแบรนด์ ผลิตอาหารเสริมและเครื่องสำอางที่มีมาตรฐานและคุณภาพออกมาจำหน่ายเท่านั้น ดังนั้น ก่อนเลือกซื้อ จึงควรหาเครื่องหมายมาตรฐานการผลิตเหล่านี้ก่อนเป็นอันดับแรก ก่อนจะดูองค์ประกอบอื่น ๆ ในลำดับถัดไป

2. ส่วนผสม

เมื่อดูว่ามีเครื่องหมายมาตรฐานการผลิตหรือไม่แล้ว ก็มาต่อกันที่ส่วนผสม ซึ่งดังที่กล่าวไปแล้วว่า ลิปสติกนั้น มีสารประกอบที่อาจก่อให้เกิดอันตรายมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสารในกลุ่มเรตินอยด์ สารสังเคราะห์วิตามิน E สารที่กลั่นจากปิโตรเลียม สารในกลุ่มโลหะหนัก หรือ สารกันเสีย ซึ่งถ้าหากต้องการลดผลข้างเคียงหรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับร่างกาย จากการใช้ลิปสติกในระยะยาวแล้วละก็ แนะนำให้เลือกซื้อลิปสติกที่ปราศจากสารเหล่านี้ หรือหันไปใช้ลิปสติกที่มีการผลิตแบบ Organic แทนเลย จะเป็นการดีที่สุด หรือถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้จริง ๆ ก็ให้เลือกซื้อแบรนด์ลิปสติก ที่มีสัดส่วนของสารเหล่านี้ในปริมาณน้อยที่สุด ก็จะช่วยลดความเสี่ยงจากการได้รับผลกระทบทางสุขภาพได้

3. ความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์

ปัจจุบัน หลากหลายแบรนด์ ทำการตลาดขายลิปสติก ผ่านออฟไลน์และออนไลน์ โดยเฉพาะช่องทางโซเชี่ยลมีเดีย เพื่อสร้างความน่าเชื่อถืออย่างดุเดือด ยิ่งมีการอ้างอิงจากการรีวิวของดารา นักร้อง และอินฟลูเอนเซอร์ ก็ทำให้การสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ลิปสติก เป็นเรื่องง่ายมาก ๆ จนอาจทำให้หลายคนหลงเชื่อได้ง่าย ดังนั้น การเลือกซื้อลิปสติก จึงไม่ควรดูแต่รีวิวจากบุคคลที่มีชื่อเสียงเพียงอย่างเดียว แต่ควรดูคอมเม้นต์ รีวิวการใช้งานจากบุคคลทั่วไปร่วมด้วย เพราะถ้าของดีมีคุณภาพจริง ก็จะมีคนเข้ามารีวิวเรื่อย ๆ ในขณะที่ก็ห้ามลืมองค์ประกอบข้างต้น คือ มาตรฐานการผลิตและส่วนผสม เพราะแม้การตลาดจะหลอกเราได้ แต่เรื่องของมาตรฐานการผลิตและส่วนผสม ก็จะช่วยคัดกรองให้เราลดโอกาสเสี่ยงที่จะเจอของคุณภาพแย่ได้ ซึ่งถ้าใครไม่อยากเสี่ยงเลย จะเลือกซื้อแต่ลิปสติกจากแบรนด์เครื่องสำอางที่มีความน่าเชื่อถือ ขายมาหลายสิบปีแล้วไปเลยก็ได้ ไม่ว่ากัน

อยากมีริมฝีปากอวบอิ่ม ดูนุ่ม ชุ่มชื้น อย่าลืมเลือกซื้อลิปสติกที่มีส่วนผสมที่ดี ไม่เป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดผลข้างเคียง และมีมาตรฐานการผลิต รวมถึงความน่าเชื่อถือ มาใช้งาน เพียงเท่านี้ คุณก็จะแต่งหน้าสวยได้ทุกวัน พร้อมกับมีริมฝีปากที่ดูสวย โดดเด่น ช่วยให้มั่นใจได้ตลอดทั้งวันแล้ว


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ลิปสติก สารประกอบในลิปสติก อันตรายหรือไม่?

ตรวจคุณภาพ มาตรฐานลิบสติก ตรวจมาตรฐาน อย. GMP HACCP ตรวจสารอันตรายในลิบสติก ตรวจสกัดในลิบสติก
สนใจสั่งซื้อสินค้า
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset



โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้







ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
สวน นพรั..., Saturday 23 November 2024 20:27:16, เลขจัดส่ง SMAM000รออัพเดท
คุณ ณรงค..., Saturday 23 November 2024 14:22:01, เลขจัดส่ง SMAM000รออัพเดท
คุณ ชลิต..., Saturday 23 November 2024 13:21:37, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ หนูแ..., Saturday 23 November 2024 13:20:34, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ศศิธ..., Saturday 23 November 2024 13:03:42, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อรวร..., Saturday 23 November 2024 13:02:34, เลขจัดส่ง SPX EXPRESS
คุณ สายร..., Saturday 23 November 2024 13:01:28, เลขจัดส่ง SPX EXPRESS
คุณ อาม, Saturday 23 November 2024 13:00:24, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ จารุ..., Saturday 23 November 2024 12:59:43, เลขจัดส่ง SPX EXPRESS
คุณ บุญม..., Saturday 23 November 2024 12:58:30, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
ปลูก ข่าตาแดง ส่งโรงงาน สร้างรายได้หลักล้านบาทต่อเดือน
Update: 2564/08/30 03:48:58 - Views: 3401
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง กู๊ดโซค เร่งมันโต FK-1 และระเบิดหัวมันด้วย FK-3C นะคะ
Update: 2564/08/27 23:32:25 - Views: 3416
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราดำ ใน ลิ้นจี่ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/16 10:20:17 - Views: 3454
การประกอบโรคของพืช
Update: 2564/08/12 22:04:43 - Views: 3516
การจัดการโรคเชื้อราในมะระจีน
Update: 2566/05/11 11:00:27 - Views: 3435
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO: เคล็ดลับสำหรับการเร่งการออกดอกและเร่งรากของต้นพริก
Update: 2567/02/12 14:05:19 - Views: 3434
มะเขือม่วง ต้นเหี่ยว-ผลเน่า กำจัดเชื้อราในมะเขือม่วง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย ศัตรูพืช
Update: 2565/11/14 09:13:38 - Views: 3395
โรคใบไหม้ไฟทอฟธอรา ในเมล่อน ป้องกันกำจัดได้ ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/11 07:48:35 - Views: 3437
กำจัดเพลี้ย ใน มะกอก เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/10 14:28:22 - Views: 3440
คำนิยม - ขอบคุณลูกค้าปลูกแตงกวาปลอดสารเคมี ใช้สินค้าหลายอย่างจากเราเลยค่ะ
Update: 2562/10/25 21:28:34 - Views: 3379
พลังของสารประกอบอินทรีย์ IS และ FK-1 ในการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในมะละกอ
Update: 2566/02/09 12:55:45 - Views: 3399
แอปเปิ้ล ช่อดอกแห้ง ผลร่วง กำจัดโรคแอปเปิ้ล จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/11 10:09:42 - Views: 3402
ปุ๋ยลำไย ตรา FK ปุ๋ยน้ำสำหรับลำไย ความสำคัญของปุ๋ยตรา FK ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตลำไย
Update: 2565/12/18 07:33:42 - Views: 3399
แก้ใบไหม้ ใบจุด ใบแห้ง กิ่งแห้ง โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส สั่งซื้อโทร 090-592-8614
Update: 2563/05/06 12:40:00 - Views: 3416
การปลูกมังคุด: เคล็ดลับการปลูกมังคุด ให้ได้ผลผลิตสูงและคุณภาพดี
Update: 2566/04/28 15:06:42 - Views: 3422
การป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ ใบจุด และโรคพืชจากเชื้อราอื่นๆ ในต้นข้าวโพด ด้วย ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/23 13:03:32 - Views: 3409
การปลูกมะระ
Update: 2564/08/09 22:31:55 - Views: 3491
ปลูกองุ่น ใช้ ฮิวมิคFK แต่ละช่วงอายุ
Update: 2567/11/04 16:41:52 - Views: 34
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืชพริกไทย
Update: 2566/05/06 11:18:43 - Views: 3428
การจัดการหนอนในต้นชมพู่: วิธีป้องกันและควบคุมศัตรูพืช
Update: 2566/11/24 10:01:32 - Views: 3462
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022