<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย

สารสำคัญ ในกัญชา มีอะไรบ้าง

172.68.253.85 2565/09/07 02:04:53 , View: 3391, e
สารสำคัญ ในกัญชา มีอะไรบ้าง

สารสำคัญในกัญชา บทความนี้จะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสารสำคัญในกัญชา มีอะไรบ้าง
สารสำคัญในกัญชา แต่ละตัวสำคัญอย่างไร ตัวใหนทำไห้เมา ตัวใหนทำไห้ติด และตัวใหนใช้รักษาโรค เราจะพาทุกท่านมาหาคำตอบในบทความนี้กันคะ

สารสำคัญในกัญชามีหลายร้อยชนิด แบ่งออกเป็นกลุ่มหลักๆ ได้3กลุ่ม
1)สารแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids)
2)สารเทอร์ปีน (Terpenes)
3)สารฟลาโวนอยด์ (Flavonoid)

กลุ่มที่ 1 สารแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids)
เป็นสารสำคัญในกัญชา ซึ่งสารในกลุ่มนี้เป็นสารประกอบทางเคมี ที่มีมากกว่า 500 ชนิด เป็นสารที่ต้นกัญชาสามารถผลิตได้ และเก็บสะสมไว้ในไตรโคม และต่อมขน ที่มีอยู่มากบริเวณ ดอกกัญชาตัวเมีย

สารแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids) มากกว่า 100 ชนิด จะมีแค่ในต้นกัญชาเท่านั้น ไม่สามารถหาได้จากพืชนิดอื่น สาร (Cannabinoids) ที่ได้จากกัญชา จะเรียกว่า ไฟโตแคนนาบินอยด์ เพื่อไม่ไห้สับสนระหว่าง สารแคนนาบินอนยด์ที่ร่างการมนุษย์สร้างขึ้น

หลายคนสงสัยว่ากัญชาสร้างสารแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids) ที่เหมือนกับสารที่ร่างกายสร้างได้ด้วยหรือ คำตอบคือ เกือบเหมือนแต่ไม่เหมือน แต่ที่สำคัญเป็นสารที่ใช้แทนกันได้ สารโฟโตแคนนาบินอยด์จากกัญชา มีโครงสร้าง ทางเคมีคล้ายกับสาร แคนนาบินอยด์ ที่ร่างกายสร้างขึ้น เพื่อใช้งานในระบบทำงานของร่างกาย เรียกว่า ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ Endocannabinioid System (ESC)

ระบบเอ็นโดแคนนนาบินอยด์
คือการรักษาสมดุลของร่างกายเพื่อไห้ทำงานเป็นปกติ โดยการควบคุมการทำงานต่างๆทั้งระบบประสาท กระบวนการทางกายภาพ การตอบสนองต่อความเจ็บปวด ความอยากอาหาร การย่อยอาหาร อารมณ์ การอักเสบต่างๆ ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบประสาทสำผัส การทำงานของหัวใจและอื่นๆระบบต่างๆจะถูกควบคุมด้วยระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ หากร่ายกายมนุษย์ไม่สามารถสร้างแคนนาบินอยด์ ได้หรือสร้างได้น้อย

ร่างกายเกิดอาการผิดปกติ อาจเกิดโรคต่างๆขึ้นได้ การใช้สารแคนนาบินอยด์ ที่ได้จากกัญชาไปทดแทน จึงช่วยรักษาและป้องกันโรค ที่เกิดจากกระบวนการบกพร่องของสารแคนนาบินอยด์

สารแคนนาบินอยด์ จากต้นกัญชา
สารแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids) เป็นสารสำคัญในกัญชา ตัวที่รู้จักและมีการศึกษามากในปัจจุบันได้แก่สาร THC_CBD_CBC_CBN_CBV โดยมีข้อมูลไห้พบมากที่สุดได้แก่ สารเดลตร้า 9 เดลตร้า ไฮโดรแคนนาบินอยด์ (THC) และแคนนาบิไดออล (CBD)

ซึ่งทั้ง2ชนิด มีโครงสร้างทางเคมีที่คล้ายกันมาก โดยทั้ง2ประกอบด้วย คาร์บอน 21 อะตอม ไฮโดรเจน 30 และออกซิเจน 2 อะตอม แต่ที่มันต่างกันก็เพราะ การเรียนตัวของอะตอมไม่เหมือนกัน

สารเดลตร้า 9 เดตร้า ไฮโดรเเคนนาบินอยด์ (THC) สารกลุ่มนี้เป็นสารที่กลุ่มผู้ใช้เพื่อการนันทนาการต้องการ เพราะจะทำไห้เกิดอาการเมา หรือมีการผ่อนคลายทางร่างกาย ยิ่ง THC สูง ยิ่งเกิดอาการเมา

ซึ่งมีผลข้างเคียงจากการเสพติดตามมามากมายเช่น อาการปากแห้ง กระหายน้ำ หัวใจเต้นเร็ว ตาแดง สูญเสียความทรงจำชั่วขณะ ประสาทหลอน หูแว่ว

สารแคนนาบิไดออล (CBD) เป็นสารสำคัญในกัญชา สารตัวนี้จะทำไห้รู้สึกผ่อนคลายเช่นกัน แต่จะไม่ทำไห้มีผลต่อสุขภาพจิตประสาท ไม่ทำไห้เกิดอาการติด และยังช่วยลดอาการทางจิตประสาท ที่เกิดจากสาร ลดอาการวิตกกังวล ลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ป้องกันโรคนอนไม่หลับ ลดอาการชักจากโรคปอกประสาทเสื่อม และโรคลมชักต่างๆ

กลุ่มที่ 2 สารเทอร์ปีน (Terpents)
เป็นสารสำคัญในกัญชาอีกชนิดหนึ่ง เป็นสารประกอบอโรมาติก เป็นสารทำไห้มีกลิ่นเฉพาะตัว ทำไห้เราสามารภแยกสายพันธ์ุกัญชาได้จากกลิ่น ซึ่งกลิ่นเหล่านี้ทำไห้กัญชามีเสน่ห์แตกต่างกันไป กัญชาจะมีกลิ่นและรสชาติที่โดดเด่น มีทั้ง ส้ม เบอร์รี่ มิ้น และอื่นๆอีกมากมาย

สิ่งที่ทำไห้ปริมาณสารเทอปีนมีมาก หรือ น้อย ประกอบด้วยหลายปัจจัย เช่น สภาพแวดล้อมที่ปลูก อุณภูมิ ปุ๋ย แสงไฟที่ได้รับ อายุการเก็บเกี่ยว การบ่ม การเก็บรักษา สิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วยมีผลต่อปริมาณ และคุณภาพ ของสารเทอร์ปีน

เทอร์ปีน เป็นสารสำคัญในกัญชาที่มีผลต่อร่างการโดยตรง ช่วยไห้ผ่อนคลาย ช่วยบำบัดโรค โดยเป็นตัวเสริมซึ่งกันและกัน ระหว่าง สารแคนนาบินอยด์ ทำไห้มีฤทธิ์มากขึ้น หากใช้สารสกัด CBD เพียวๆอาจไม่ได้ผลดี เหมือนการใช้ดอกแห้งที่นังไม่สกัด เพราะสารสกัด CBD เพียวๆ จะไม่มีสารเทอร์ปีนอยู่ด้วย

กลุ่มที่ 3 สารฟลาโวนอยด์ (Flavonoid)
สารฟลาโวนอยด์ เป็นสารสำคัญในกัญชา ที่จัดเป็นนิวตราซูติคอล หรือ อาหาร หรือส่วนประกอบของอาหาร เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ประโยชน์ทางยา ป้องกัน รักษาโรค และชะลอความชรา มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ

โดยทำหน้าที่หน่วงเหนี่ยว หรือเป็นสารต้านปฏิกริยา ออกซิเดชั่น จึงช่วยหยุด กริยาลูกโซ่ของอนุมูลอิสระได้ และยังช่วยลดการเกิดโรคเรื่อรังชนิดต่างๆ มีประโยชน์ต่อระบบสมอง ระบบเส้นเลือด และหัวใจ รวมทั้งพบสรรพคุณในการฆ่ามะเร็งได้ด้วย ปัจจุบันค้นพบการสำคัญในกัญชา ที่เป็นสารกลุ่ม ฟลาโวนอยด์ มากกว่า20ชนิด

การใช้กัญชารักษาโรค
การใช้กัญชารักษาโรคนั้นจำเป็นต้องใช้ทั้ง 3 กลุ่ม ดังที่กล่าวไปข้างต้น ทำงานร่วมกันจึงจะได้ผลดี หากทำสกัดแยกสารออกมาเดี่ยวๆอาจจะไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร แต่การใช้ยาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน จำเป็นต้องระบุสารเคมีที่ใช้ไห้ชัดเจน ทั้งปริมาณและความบริสุทธิของสาร

ซึ่งเป็นอุปสรรค์ ของการใช้กัญชาทางการแพทย์อยู่พอสมควร ทั้งยังทำไห้ราคาสูงขึ้น เพราะจะต้องทำไห้เป็นสารบริสุทธิ์ การใช้กัญชาทางการแพทย์ในรูปแบบสมุนไพร น้ำมันกัญชา หรือการสูบไอระเหย จึงสะดวกกว่ามาก

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..

สำหรับผู้ผลิตสินค้าที่มีส่วนประกอบของกัญชา สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์นี้ http://www.farmkaset..link..

สารสำคัญกัญชา ตรวจวิเคราะห์กัญชา สาร CBD สาร THC
สนใจสั่งซื้อสินค้า
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset



โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้







ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
สวน นพรั..., Saturday 23 November 2024 20:27:16, เลขจัดส่ง SMAM000รออัพเดท
คุณ ณรงค..., Saturday 23 November 2024 14:22:01, เลขจัดส่ง SMAM000รออัพเดท
คุณ ชลิต..., Saturday 23 November 2024 13:21:37, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ หนูแ..., Saturday 23 November 2024 13:20:34, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ศศิธ..., Saturday 23 November 2024 13:03:42, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อรวร..., Saturday 23 November 2024 13:02:34, เลขจัดส่ง SPX EXPRESS
คุณ สายร..., Saturday 23 November 2024 13:01:28, เลขจัดส่ง SPX EXPRESS
คุณ อาม, Saturday 23 November 2024 13:00:24, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ จารุ..., Saturday 23 November 2024 12:59:43, เลขจัดส่ง SPX EXPRESS
คุณ บุญม..., Saturday 23 November 2024 12:58:30, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
Update: 2564/08/11 06:10:56 - Views: 3604
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน ศัตรูพืชสำหรับต้นเมล่อน
Update: 2567/02/27 13:29:06 - Views: 3469
ดอกทานตะวัน ดอกเน่า ใบจุด ใบไหม้ ยอดไหม้ โรคเหี่ยว ต้นเน่า โรคราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/01 11:49:31 - Views: 3506
การจัดการและควบคุมหนอนในต้นโกโก้: วิธีป้องกันและลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น
Update: 2566/11/11 09:37:43 - Views: 3437
การป้องกันกำจัด โรคเส้นดำ (Black Stripe) ในยางพารา
Update: 2566/03/04 14:07:38 - Views: 3507
ระวัง!! “โรคจุดดำ” หรือ โรคแอนแทรคโนส ในอะโวคาโด สร้างความเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร ??
Update: 2566/11/03 11:12:24 - Views: 3398
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ใน ถั่วฝักยาว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/11 12:29:35 - Views: 3478
Protect Plants แอพพลิเคชั่นดีๆ ของกรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อเกษตรกรไทย
Update: 2564/08/05 11:35:37 - Views: 3694
โรคราสีชมพู ที่เกิดกับ ลองกองผลอ่อน
Update: 2564/08/20 12:43:41 - Views: 3603
เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยฉีดทางใบเพิ่มประสิทธิภาพในการเร่งการเจริญเติบโต ของ มะยงชิด และมะปราง
Update: 2566/11/11 13:10:39 - Views: 3420
ฆ่าหนอน เยอบีร่า หนอนทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
Update: 2565/08/09 17:09:50 - Views: 3423
การจัดการโรคราน้ำค้างในแตงกวา: วิธีป้องกันและการดูแลเพื่อผลผลิตที่สมบูรณ์
Update: 2566/11/13 12:39:40 - Views: 3488
กำจัดหนอนเจาะผล ศัตรูพืชในต้นทุเรียน AiKi-BT ฟื้อนฟูจากการเข้าทำลายของหนอน FK-T อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ โดย FK
Update: 2566/05/25 12:37:31 - Views: 3466
แอพผสมปุ๋ย จาก ฟาร์มเกษตร ให้บริการฟรี ในรูปแบบ Web based application ไม่ต้องติดตั้ง ใช้งานได้เลย
Update: 2566/01/20 09:39:46 - Views: 3497
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยต่างๆ ในทุเรียน และพืชอื่นๆ มาคา และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
Update: 2565/06/29 19:28:31 - Views: 3434
ยาฉีดเงาะ หนอนเจาะผลเงาะ หนอนคืบ ใช้ ไอกี้ เพลี้ยไฟในเงาะ เพลี้ยต่างๆ ใช้ มาคา ส่วนโรคเงาะที่เกิดจากเชื้อรา..
Update: 2563/04/11 13:21:30 - Views: 3740
ราแป้ง ในดอกกุหลาบ โรคราต่างๆ ในต้นดอกกุหลาบ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
Update: 2567/04/20 10:58:45 - Views: 3502
ทำความเข้าใจกับ กราฟ ปุ๋ยตรา FK กับการปลดปล่อยธาตุอาหาร เมื่อเทียบกับ ปุ๋ยอื่นๆทั่วไป
Update: 2566/01/03 09:10:59 - Views: 3435
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน มะละกอ เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/02/28 14:06:46 - Views: 3431
เตือนภัย!! สวนแตงไทย ใบไหม้ ผลเน่า โรคต้นแตกยางไหล สร้างความเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร ??
Update: 2566/11/03 14:30:34 - Views: 3492
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022