<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย แจ้งเนื้อหาไม่ตรงคำค้น แจ้งภาพเสีย แจ้งคุณภาพต่ำ

แก้โรคทุเรียนใบไหม้ ทุเรียนใบติด รักษาอาการทุเรียนใบไหม้ โรคใบติดทุเรียน ด้วยการฉีดพ่น ยับยั้งการระบาดของเชื้อรา

101.51.65.159 2563/07/02 14:34:05 , View: 5233, e
FK

FK


เลือกสินค้าได้เลยนะคะ (สั่งมากกว่าอย่างละ 1 ขวด โทร 090-592-8614 หรือ ไลน์ไอดี @FarmKaset นะคะ)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFKธรรมชาตินิยมกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
รวมชำระปลายทาง 0 บาท




สั่งซื้อมากกว่านี้ หรือนอกเหนือจากนี้ ติดต่อตามปุ่มด่านล่างที่คุณสะดวกได้เลยนะคะ

ส่งฟรีถึงบ้าน ไม่มีค่าจัดส่ง
เก็บเงินปลายทาง ไม่ต้องโอน สบายใจ





แก้โรคทุเรียนใบไหม้ ทุเรียนใบติด รักษาอาการทุเรียนใบไหม้ โรคใบติดทุเรียน ด้วยการฉีดพ่น ยับยั้งการระบาดของเชื้อรา

ในสภาพอาการร้อนชื้น แดดแรง และมีฝน เป็นสภาพอาการที่เอื้ออำนวยต่อการระบาดของโรคทุเรียน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคทุเรียนใบไหม้ หรือหลายครั้งมักจะเรียกว่า โรคใบติด เนื่องจากมีอาการใบทุเรียนไหม้ ติดกัน

อาการของทุเรียนใบไหม้ ซึ่งมาสาเหตุจากเชื้อรานั้น เริ่มต้นจะมีแผลลวก จากนั้นแผลจะขยายตัว และค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล และจะเริ่มลุกลามไปใบข้างเคียง ยิ่งในภาวะความชื้นสูง เชื้อราจะก่อตัวและลุกลามได้เร็วยิ่งขึ้น และจะก่อโครงสร้างเส้นใย ทำให้ใบทุเรียนยึดติดกัน เมื่อใบบนที่เป็นโรค หลุดร่วง ก็จะหล่นใส่ใบที่อยู่ด้านล่าง ทำให้ติดลุกลามไปเรื่อยๆ หากลุกลามมากใบจะหลุดร่วงจนหมดทั้งกิ่ง และกิ่งจะค่อยๆแห้งหัก

ยิ่งกรณีมีความชื้นสูงเชื้อราจะลุกลาม และจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน เมื่อใบที่เป็นโรคหลุดร่วงไปสัมผัสกับใบที่อยู่ด้านล่าง ทำให้โรคระบาดลุกลามจนใบไหม้เห็นเป็นหย่อมๆ ใบแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง และกิ่งแห้งในที่สุด

การป้องกันกำจัด โรคทุเรียนใบไหม้ ทำได้โดยการฉีดพ่น ไอเอส ให้ครอบคลุมบริเวณที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง ห่างกันต่อครั้ง ประมาณ 3 วัน

การสังเกตุการหายจากเชื้อรา คืออาการใบไหม้ จะหยุดลุกลาม หยุดระบาด ใบที่ผลัดออกมาใหม่จะไม่เป็น ส่วนใบที่เสียหายไปแล้วนั้น ก็จะหยุดความเสียหายเอาไว้แค่นั้น และรอผลัดใบใหม่ ทุเรียนก็จะเริ่มกลับผมฟื้นตัว และสมบูรณ์ แข็งแรงอีกครั้ง หากเราต้องการเร่งการแตกยอดใบใหม่ เร่งการฟื้นตัว สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกับ ไอเอส

ยาป้องกันกำจัดโรค ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน ซึ่งใช้ได้กับทุกพืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ ที่ปลูกในประเทศไทย

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)




ยาป้องกัน กำจัด โรคพืช และแมลงศัตรูพืช

ชุดคุ้มค่า ป้องกันกำจัดโรคพืช FKT+IS


FK-3 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งผล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก


FK-1 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งโต


อัตราผสม

รีวิวยาอินทรีย์

สารอินทรีย์ปลอดภัย รีวิว

ประสบการผู้ใช้ ยาอินทรีย์

ยาอินทรีย์ดีดี

การจัดส่ง ยาอินทรีย์
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ กนกวรรณ นาว รอดเพ็ชร, Friday 26 April 2024 14:29:17, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สุริยา ศรีโภคา, Friday 26 April 2024 14:27:11, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ หนุ่ม, Friday 26 April 2024 13:20:29, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อมรรัตน์ คำอยู่, Friday 26 April 2024 13:19:04, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ชญานันท์ สิมสุนทร, Friday 26 April 2024 11:54:59, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ลำพูล เพ็ชรรัตน์, Friday 26 April 2024 11:53:13, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Wisuwat Kawwichit, Friday 26 April 2024 11:33:44, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ รุ่ง เพชร์วรรณ์, Friday 26 April 2024 11:12:16, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อำพัน วัฒนาเสรีกุล, Friday 26 April 2024 11:11:08, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Athip , Friday 26 April 2024 11:09:36, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นอิทผาลัม
Update: 2566/05/11 09:44:59 - Views: 2962
ยารักษา บวบใบไหม้ โรคราน้ำค้างในบวบ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/30 10:19:45 - Views: 3093
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคผลเน่า ใน แคนตาลูป ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/14 14:04:43 - Views: 3037
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 : ตัวช่วยเพิ่มผลผลิตมันฝรั่ง หัวใหญ่ ดก คุณภาพดี
Update: 2567/03/04 11:01:19 - Views: 67
ยาฆ่าหนอน ใน ต้นมะพร้าวน้ำหอม และพืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอกี้-บีที และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/04/25 11:06:52 - Views: 6875
ปลูกมันเบอร์รี่ หรือหม่อนกินผล รายได้หลัก 3 หมื่นบาทต่อไร่ ราคาอยู่ในช่วง 150 ถึง 250 บาทต่อ กก.
Update: 2563/05/15 08:43:33 - Views: 3024
ควบคุมอ้อยอย่างมีประสิทธิภาพ: กำจัดหญ้าและวัชพืชด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:22:31 - Views: 91
การป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ ใบจุด และโรคพืชจากเชื้อราอื่นๆ ในต้นข้าวโพด ด้วย ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/23 13:03:32 - Views: 2966
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน ศัตรูพืช สำหรับต้นถั่วฝักยาว
Update: 2567/02/22 10:11:35 - Views: 83
ผลร้ายของราดำที่เกิดจากเชื้อราในลิ้นจี่: เทคนิคการป้องกันและกำจัด
Update: 2566/05/15 11:09:49 - Views: 2974
ไล่พนักงานออก ไล่ผู้เช่าหอพักออก เมื่อทราบว่าติด โควิด-19 ผิด พรบ.โรคติดต่อ
Update: 2564/08/12 00:25:34 - Views: 3127
การจัดการเพลี้ยในต้นผักกาดเขียว: วิธีป้องกันและควบคุมเพลี้ยให้พืชเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์
Update: 2566/11/16 09:57:51 - Views: 310
ระวัง เพลี้ย ภัยร้ายของ ต้นมะละกอ สร้างเสียหายได้มาก ป้องกันได้อย่างไร?
Update: 2566/11/01 15:13:20 - Views: 284
การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) ในกำจัดวัชพืชในสวนผักกะหล่ำปลี
Update: 2567/02/13 09:19:12 - Views: 106
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในถั่วลิสง และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/06 13:29:28 - Views: 3024
หนอนกออ้อย 3 ชนิดที่พบมากในไทย ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้-บีที ฟื้นฟูด้วย FK-1
Update: 2564/01/30 10:21:58 - Views: 2967
ความสัมพันธ์ลับ ระหว่างหนอนผีเสื้อกับมด
Update: 2564/08/12 22:24:06 - Views: 3107
การเพิ่มผลผลิตอ้อยสูงสุดด้วยปุ๋ย FK-1 และ FK-3
Update: 2566/01/05 13:17:03 - Views: 2950
การป้องกันและกำจัด โรคใบไหม้ และ โรคใบจุด ใน อินทผลัม ด้วย ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/19 06:56:21 - Views: 2975
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคโรคเหี่ยวเหลือง ในดอกดาวเรือง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2565/12/28 09:11:48 - Views: 2970
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022