<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย แจ้งเนื้อหาไม่ตรงคำค้น แจ้งภาพเสีย แจ้งคุณภาพต่ำ

ต่างชาติเมิน เปิดศูนย์วิจัยในไทย ชี้รัฐไม่หนุนลงทุนศึกษา-สลดอีก 168ปี ถึงตามเกาหลีทัน

125.26.149.87 2553/05/18 14:50:44 , View: 3697, e
FK

FK


เลือกสินค้าได้เลยนะคะ (สั่งมากกว่าอย่างละ 1 ขวด โทร 090-592-8614 หรือ ไลน์ไอดี @FarmKaset นะคะ)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFKธรรมชาตินิยมกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
รวมชำระปลายทาง 0 บาท




สั่งซื้อมากกว่านี้ หรือนอกเหนือจากนี้ ติดต่อตามปุ่มด่านล่างที่คุณสะดวกได้เลยนะคะ

ส่งฟรีถึงบ้าน ไม่มีค่าจัดส่ง
เก็บเงินปลายทาง ไม่ต้องโอน สบายใจ






นางกาญจนา ปานข่อยงาม รักษาราชการแทนเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เผยว่า สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ให้ทุนอุดหนุนแก่ รศ.ดร.ชัยยุทธ์ สัตยาประเสริฐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะ ทำการศึกษาความเป็นไปได้ของบริษัทข้ามชาติในการเปิดศูนย์วิจัยในประเทศไทย ซึ่งจะช่วยให้ประเทศไทยได้รับประโยชน์ในเรื่องของการจ้างงาน เกิดการเรียนรู้ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ และเพิ่มศักยภาพของบุคลากรไทย

ผลการวิจัยได้ข้อสรุปว่า ปัจจัยด้านทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยอยู่ในระดับต่ำถึงปานกลาง จึงทำให้ไม่เป็นที่จูงใจของบริษัทข้ามชาติที่จะเข้ามาลงทุนด้านการวิจัยและ พัฒนาในประเทศไทย และไทยยังต้องพึ่งพาแรงงานที่มีทักษะและเทคโนโลยีจากชาวต่างชาติ โดยเฉพาะนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน อย่างไรก็ตามปัจจัยด้านทำเลที่ตั้งและพื้นที่ใช้ประโยชน์ของประเทศไทย มีความได้เปรียบสูงกว่าประเทศอื่นๆ ทำให้ประเทศไทยยังคงมีความน่าลงทุนในระดับสูง ขณะที่ปัจจัยด้านความมั่นคงทางการเมืองและการเงินของไทย ยังถือว่า มีปัญหา สำหรับปัจจัยด้านการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งการลงทุนด้านการศึกษานั้น ไทยมีการลงทุนต่ำมาก ทำให้ไม่มีความน่าลงทุน

นอกจาก นี้ ผู้วิจัยได้นำจำนวนบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศและจำนวนสิทธิ บัตรที่ได้รับการรับรองของประเทศนั้นๆ มาเป็นเครื่องพิจารณาชี้วัด เพื่อให้เห็นศักยภาพว่าประเทศนั้นๆ เหมาะสมที่จะจัดตั้งศูนย์และพัฒนาหรือไม่ พบว่าประเทศไทยอยู่ในระดับไม่น่าสนใจ ส่วนเรื่องสิทธิบัตรประเทศไทยเทียบกับประเทศเกาหลีใต้พบว่า ไทยล้าหลังเรื่องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถึงกับต้องใช้เวลาประมาณ 163 ปี เพื่อจะพัฒนาให้เท่าเกาหลีใต้

อย่างไร ก็ตาม งานวิจัยนี้ยังได้สัมภาษณ์ผู้บริหารบริษัทข้ามชาติที่จะมาลงทุนจัดตั้ง ศูนย์วิจัยและพัฒนาในประเทศไทยด้วย และพบว่าเป็นเรื่องความละเอียดอ่อนของแต่ละประเทศ ทั้งความพร้อมของบุคลากร คุณภาพ ค่าจ้างราคาต่ำ ความเสี่ยงด้านการเมืองและการเงินตลอดจนผลตอบแทนที่ได้จากแรงจูงใจที่ประเทศ นั้นๆ แต่กระนั้นก็ตาม การจัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาของบริษัทข้ามชาติ เป็นเพียงมาตรการหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย แต่ไม่ใช่เป็นปัจจัยหลัก ที่จะแก้ปัญหาความอ่อนแอด้านพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภายในประเทศ ซึ่งจะต้องขึ้นอยู่กับการลงทุนด้านโครงสร้างและการศึกษาของประเทศเป็นหลัก

http://www.naewna.com/news.asp?ID=211489




ยาป้องกัน กำจัด โรคพืช และแมลงศัตรูพืช

ชุดคุ้มค่า ป้องกันกำจัดโรคพืช FKT+IS


FK-3 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งผล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก


FK-1 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งโต


อัตราผสม

รีวิวยาอินทรีย์

สารอินทรีย์ปลอดภัย รีวิว

ประสบการผู้ใช้ ยาอินทรีย์

ยาอินทรีย์ดีดี

การจัดส่ง ยาอินทรีย์
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ อัจฉ..., Tuesday 08 July 2025 13:45:21, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ นฤมล..., Tuesday 08 July 2025 13:42:53, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ละออ..., Tuesday 08 July 2025 13:40:08, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ทักษ..., Tuesday 08 July 2025 12:22:52, เลขจัดส่ง SPX EXPRESS
คุณ รำเพ..., Tuesday 08 July 2025 12:21:37, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ โต้ง..., Tuesday 08 July 2025 12:20:08, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ชวัล..., Tuesday 08 July 2025 12:18:23, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สุพั..., Tuesday 08 July 2025 12:16:49, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อนัน..., Tuesday 08 July 2025 12:14:53, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อุทั..., Tuesday 08 July 2025 12:13:46, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
ปุ๋ยที่ออกแบบมาสำหรับ นาข้าว ไร่มันสำปะหลัง ไร่อ้อย โดยเฉพาะ
Update: 2567/05/16 09:03:11 - Views: 3631
การป้องกันกำจัด โรคกิ่งแห้งของทุเรียน
Update: 2566/01/16 13:41:37 - Views: 3703
ทุเรียน ใบไหม้ ราดำ ราแป้ง กำจัดโรคทุเรียน จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/24 09:47:20 - Views: 3568
โรคเชื้อราต่างๆในแก้วมังกร โรคไหม้ ราจุดสนิม เป็นแผลจุดสีน้ำตา โรคแก้วมังกรต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
Update: 2564/02/09 04:35:41 - Views: 4092
การจัดการโรคเชื้อราในฟักทองอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/04 09:38:34 - Views: 3540
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยสำคัญสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกโกโก้ ช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่มคุณภาพผล และเพิ่มรายได้
Update: 2567/03/09 10:42:03 - Views: 3853
รับจ้างผลิต ปุ๋ย ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ยาปราบฯ สารจับใบ ไตรโคเดอร์มา บิวเวอเรีย เมทาไรเซียม สารอินทรีย์ต่างๆ โรงงานมาตรฐาน ISO 9001
Update: 2566/03/17 18:57:05 - Views: 4277
ยากำจัด เพลี้ย ในฟัก เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น แมลงศัตรูฟัก เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/05 03:19:24 - Views: 3595
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวันทองหรือแมลงวันผลไม้ ใน แก้วมังกร และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/28 13:59:08 - Views: 3596
การรับมือกับโรคเชื้อราในดอกกุหลาบ: วิธีป้องกันและการจัดการ
Update: 2566/11/20 09:09:23 - Views: 3650
การดูแลยางพาราตลอดปี ต้นยางพาราเติบโตแข็งแรง ปริมาณน้ำยางเพิ่มขึ้น
Update: 2567/11/06 09:41:37 - Views: 961
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราดำ ในลองกอง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/22 09:35:25 - Views: 3659
ยากำจัดโรคใบจุดตากบ ใน กาแฟ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/14 14:39:11 - Views: 3602
แนวโน้มข้าวคาร์บอนต่ำ กับตลาดการส่งออกของไทยสู่ตลาดโลก
Update: 2568/03/18 14:17:39 - Views: 303
ดอกกุหลาบ ไม่บาน ดอกเหี่ยว ใบแห้ง กำจัดโรคดอกกุหลาบ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/20 11:20:27 - Views: 3618
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน แตงโม เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/02/28 14:25:16 - Views: 3631
ส้มตำ อาหารไทยในซุปเปอร์มาเก็ต ประเทศพม่า
Update: 2557/10/07 13:44:14 - Views: 3641
การดูแลรักษาในระยะก่อนให้ผล การให้ปุ๋ยทุเรียน
Update: 2564/09/02 12:12:45 - Views: 3576
โรคกุ้งแห้งพริก โรคแอนแทรคโนสพริก ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #พริกเป็นกุ้งแห้ง #แอนแทรคโนสพริก
Update: 2564/10/28 13:26:27 - Views: 3547
ประโยชน์ดีๆ สรรพคุณเด่นๆ ..ทานตะวัน..
Update: 2565/11/14 12:51:38 - Views: 3616
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022