data-ad-format="autorelaxed">
ของ ภาษาคน คือ วัตถุปัจจัย 4 ส่วนเกินของสังคม ถ้าครอบครองเกินจำเป็น
ของ ภาษาธรรม คือ ความเห็นแก่ตัว ความ โลภ โกรธ หลง
มาก คือ ไม่เป็นทางสายกลาง
บาป คือ อวิชชา ความไม่รู้ในธรรมะที่จะก้าวล่วงพ้นทุกข์
ทางสายกลาง มัชฌิมาปฏิปทา หรือมรรคมีองค์แปด อันได้แก่
๑. สัมมาทิฐิ = ความเห็นชอบ (หรือเข้าใจถูกต้อง)
๒. สัมมาสังกัปปะ = ดำริชอบ (หรือความไม่วิตก)
๓. สัมมาวาจะ = การพูดจาชอบ, วาจาชอบ (ไม่พูดเท็จ, ส่อเสียด, หยาบคาย, เพ้อเจ้อ)
๔. สัมมากัมมันตะ = การประพฤติชอบ, กระทำชอบ (ไม่ฆ่าตัดรอนชีวิต, ลักขโมย, ผิดในกาม)
๕. สัมมาอาชีวะ = การเลี้ยงชีพชอบ (ไม่ข่มเหงขุดรีด, รู้เศรษฐกิจพอเพียง)
๖. สัมมาวายามะ = ความเพียรชอบ, พยายามชอบ (บากบั่น ขะมักเขม้น)
๗. สัมมาสติ = ความระลึกชอบ (รู้เท่าทัน, ไม่ปรุงแต่ง, ไม่เผลอ, เลินเล่อ, ฟั่นเฟือน, เลื่อนลอย)
๘. สัมมาสมาธิ = ความตั้งมั่นชอบ, จิตมั่นชอบ (ภาวะจิตแน่วแน่ต่อสิ่งกำหนด, ไม่ฟุ้งซ่าน)
อ้างอิง : 100 คมธรรมพุทธทาสภิกขุ