data-ad-format="autorelaxed">
ชื่อท้องถิ่น: งูก้านเชือก (งูลอกเชือก)
ชื่อสามัญ: งูสายม่านพระอินทร์ Commonbronze back
ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrilaphis pictus
ชื่อวงศ์: Colubridae
ประเภทสัตว์: สัตว์บก-สัตว์เลื้อยคลาน
ลักษณะสัตว์: ขนาดความยาว130-150 ซม.เกล็ดตามลำดับเป็นมันเรียบมีสันกลางและเป็นตุ่มเกล็ดหางเป็นแบบซิกแซกและเกล็ดผสมตากลมลูกตาดำกลมม่านตาสีเหลืองน้ำตาลงูสายม่านพระอินทร์มีหัวเรียวยาวค่อนข้างแหลมปลายปากมนคล้ายงูเขียวหัวจิ้งจกตาโตหัวและลำตาด้านบนมีสีบรอนซ์มีลายสีดำเริ่มจากหลังตาผ่านคอเป็นแนวยาวไปตามลำตัวบริเวณกลางลำตัวมีสีครีมเหลืองเป็นแนวยาวไปถึงสีขาวแบ่งเป็นแนวครึ่งท่อนบนและขอบล่างที่หัวช่วงล่างใต้คางมีสีขาวแบ่งเป็นแนว
ปริมาณที่พบ: น้อย
การใช้ประโยชน์: อื่นๆ
อธิบายวิธีการใช้ประโยชน์:
ในบางพื้นที่ในภาคอีสานมีความเชื่อว่าเวลาเด็กเป็นโรคหอบหืดจะให้กินเลือดงูสายม่านพระอินทร์หรืองูลอกเชื่อก
แหล่งที่พบ: ตามทุ่งนา ชายป่า ที่โคก
ข้อมูลอื่นๆเพิ่มเติม:
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้: ทุกฤดูกาล
แหล่งที่มาของข้อมูล: สารานุกรมทรัพยากรชีวภาพตำบลพังแดง