[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | + เลือกหน้า | All contents

ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ ธวัชชัย ถ้ำกลาง, Wednesday 24 April 2024 14:44:09, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สุภาวดี ชัยเลิศ, Wednesday 24 April 2024 14:42:45, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ จิรายุ ยุราวรรณ, Wednesday 24 April 2024 14:41:29, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ วาสนา ฉัตรศักดา, Wednesday 24 April 2024 14:40:11, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ประทีป การะภักดี, Wednesday 24 April 2024 13:34:01, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธนกร วรโชติธนโชติ, Wednesday 24 April 2024 13:32:51, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ประทีป การะภักดี, Wednesday 24 April 2024 13:25:10, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ร.ต.อ.ศักดิ์ดา ใจกลาง, Wednesday 24 April 2024 13:21:34, เลขจัดส่ง SMAM000199167L8
คุณ วีระศักดิ์, Wednesday 24 April 2024 13:17:49, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ประทีป การะภักดี, Wednesday 24 April 2024 12:03:08, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
มะระขี้นก
172.68.106.121: 2564/08/09 22:31:17
มะระขี้นก
มีข้อมูลว่ามะระขี้นกเป็นสมุนไพรที่ใช้กันมานานนับพันปี ในเอเชีย อาฟริกา และละตินอเมริกา ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวรวมกับข้อมูลการค้นคว้าถิ่นกำเนิดของมะระขี้นกที่ได้มีการค้นคว้ากันมากในอดีตพอจะสรุปได้ว่า ถิ่นกำเนิดของมะระขี้นกนั้นอยู่ในเขตร้อนของเอเชียและทางตอนเหนือของแอฟริกาเขตร้อน ซึ่งอาจรวมไปถึงเขตร้อนในอเมริกาใต้หรือแถบประเทศลาตินอเมริกาอีกด้วย เพราะในปัจจุบันนั้นมะระขี้นกสามารถเพาะปลูกหรือมีให้เห็นได้ในประเทศเขตร้อนชื้น เช่น ประเทศในแถบอเมริกาใต้ เช่น บราซิล _ อาร์เจนตินา _ ปารกวัย ฯลฯ แอฟริกาตะวันออก เช่น เคนยา _ แทนซาเนีย _ อูกานดา ฯลฯ และเอเชีย เช่น พม่า _ ไทย _ ลาว _ กัมพูชา เป็นต้น

ชื่ออื่น ๆ / ชื่อท้องถิ่น มะไห่ _ มะห่อย _ ผักไห่ _ ผักไซ (ภาคเหนือ) _ มะระหนู _ มะร้อยรู (ภาคกลาง) _ ผักสะไล _ ผักไส่ (ภาคอีสาน) _ ระ (ภาคใต้) _ ผักไห (นครศรีธรรมราช) _ ผักเหย (สงขลา) _ สุพะซู _ สุพะซู _ สุพะเด (กะเหรี่ยง - มะฮ่องสอน) _ โกควยเกี๋ย _ โคงกวย (จีน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantin Linn
ชื่อสามัญ Bitter cucumber_ Balsam pear_ Balsam apple_ Bitter melon_ Bitter gourd_ Carilla fruit
วงศ์ Cucurbitaceae

ประโยชน์สรรพคุณของมะระขี้นก
แก้ท่อน้ำดีอักเสบ
ช่วยทำให้เจริญอาหาร
ช่วยแก้ไข แก้ตัวร้อน ดับพิษร้อน แก้ปากเปื่อย เป็นขุม
แก้พิษฝี
บำรุงน้ำดี แก้ตับม้ามพิการ
แก้อักเสบฟกบวม แก้ปวดเนื่องจากลมคั่งในข้อ
แก้หอบหืด
ช่วยบำรุงร่างกาย บำรุงโลหิตระดู
แก้ตับม้ามอักเสบ
ช่วยขับพยาธิ
แก้เจ็บปวดจากพิษต่างๆ
เป็นยาระบายอ่อนๆ
แก้เบาหวาน
แก้ไข้หวัด
ช่วยต้านไวรัสเอดส์ ต้านมะเร็ง
ใบช่วยสมานแผล
ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด และเป็นยาระบาย
ช่วยป้องกันและรักษาโรคมาลาเรีย
รักษาอาการอาการกรดไหลย้อนหรือแผลในกระเพาะอาหาร
ลดการสร้างน้ำตาลจากตับ เสริมการเผาผลาญน้ำตาล


มะระขี้นกสามารถนำมารับประทาน หรือนำมาประกอบเป็นอาหารได้ เช่น ใบอ่อน ยอดอ่อน และผลอ่อน นึ่งหรือลวกให้สุก รับประทานเป็นผักจิ้มน้ำพริกปลาร้า น้ำพริกปลาทู น้ำพริกตาแดง และยังสามารถใช้เป็นส่วนผสมของแกงแค และคั่วแคได้มะระขี้นกมีรสขมมากกว่ามะระจีน จึงนิยมกินในหมู่ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ผลอ่อนนำไปต้มหรือเผากินได้ทั้งลูก ผลแก่ต้องนำมาผ่ากลาง คว้านเมล็ดออกเสียก่อน การลดความขมของมะระขี้นกนั้นทำได้โดยต้มน้ำให้เดือดจัด ใส่เกลือสักหยิบมือ ลวกมะระในน้ำเดือดสักครู่ แต่มะระจะยังคงมีผลสีเขียวสด การปรุงแกงจืดมะระขี้นกยัดไส้หมูสับ ต้องต้มนานหน่อยให้ความขมจางลง หรือปรุงอาหารเผ็ด เช่น พะแนงมะระขี้นกยัดไส้ หรือเป็นแกงเผ็ดก็ได้ ถ้าจะนำไปปรุงอาหารผัด เช่น ผัดกับไข่ ให้ต้มน้ำแล้วเททิ้งหนึ่งครั้ง หรือคั้นกับน้ำเกลือแล้วล้างออกเพื่อลดความขมก็ได้ อีกทั้งสมัยโบราณมีการนำมะระขี้นกมาปรุงเป็นกับข้าวต้มเค็มกินด้วย

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ไอเอส สารอินทรีย์ ฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัด โรคมะระขี้นก ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น มะระขี้นกใบไหม้ โรคราแป้งมะระขี้นก โรคราน้ำค้างมะระขี้นก

FK-1 ฉีดพ่นมะระขี้นก เพื่อ บำรุง เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต เสริมสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคและแมลง
อ่าน:3365
โรครากเน่าโคนเน่า ในทุเรียน
172.68.106.127: 2564/08/20 00:00:49
โรครากเน่าโคนเน่า ในทุเรียน
สภาพอากาศในระยะที่มีฝนฟ้าคะนองกระจายร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักเป็นบางแห่ง กรมวิชาการเกษตร แนะวิธีรับมือการระบาดของโรครากเน่าและโคนเน่า สามารถพบได้ในระยะที่ต้นทุเรียนแตกใบอ่อน โดยจะพบอาการที่ราก เริ่มแรกเห็นใบที่ปลายกิ่งมีสีซีดไม่เป็นมันเงา ใบเหี่ยวลู่ลง เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้นใบจะเหลืองและหลุดร่วง หากขุดดูที่รากฝอยจะพบรากฝอยมีลักษณะเปลือกล่อน และเปื่อยยุ่ยเป็นสีน้ำตาล กรณีที่โรครุนแรงอาการเน่าจะลามไปยังรากแขนงและโคนต้น ทำให้ต้นทุเรียนโทรมและยืนต้นตาย

ส่วนอาการที่กิ่ง ลำต้น และโคนต้น ระยะแรกจะพบต้นทุเรียนมีใบเหลืองเป็นบางกิ่ง สามารถสังเกตเห็นรอยคล้ายคราบน้ำ บนผิวเปลือกของกิ่งหรือต้น ในช่วงเช้าที่มีอากาศชื้นอาจเห็นเป็นหยดของเหลวสีน้ำตาลแดงออกมาจากบริเวณแผล และจะค่อยๆ แห้งไปในช่วงที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบ เมื่อใช้มีดถากบริเวณคราบนั้น จะพบเนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เป็นแผลสีนํ้าตาล ถ้าแผลขยายใหญ่จะลุกลามจนรอบโคนต้น จะทำให้ต้นทุเรียนใบร่วงจนหมดต้นและยืนต้นแห้งตาย อาการที่ใบ ใบช้ำ ดำ มีรอยตายนึ่งคล้ายถูกน้ำร้อนลวก และจะเกิดอาการไหม้แห้งคาต้นอย่างรวดเร็ว พบระบาดมากในช่วงฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน

สำหรับต้นทุเรียนที่เป็นโรครุนแรงมากหรือยืนต้นแห้งตาย ให้ขุดออกแล้วนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก จากนั้นให้ใส่ปูนขาวและตากดินไว้ระยะหนึ่งแล้วปลูกใหม่ทดแทน หลีกเลี่ยงการกระทำที่อาจทำให้รากหรือลำต้นเกิดแผล ซึ่งจะเป็นช่องทางให้เชื้อราสาเหตุโรคเข้าทำลายพืชได้ง่ายขึ้น และในแปลงปลูกควรมีการระบายน้ำที่ดี หากมีน้ำท่วมขังให้รีบระบายน้ำออกทันที จากนั้น ให้เกษตรกรใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เพื่อปรับปรุงดินในแปลงปลูก และควรทำความสะอาดอุปกรณ์การเกษตรเมื่อใช้กับต้นที่เป็นโรคทุกครั้งก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ป้องกัน ยับยั้งโรคพืช จากเชื้อราต่างๆ ไอเอส สารอินทรีย์ รายละเอียดต้านล่างนะคะ
อ่าน:3365
สารกำจัดศัตรูพืชอินทรีย์สำหรับควบคุม เพลี้ยไฟมังคุด : ประโยชน์ของการใช้ MAKA และ FK-1
172.70.143.81: 2565/12/18 10:23:37
สารกำจัดศัตรูพืชอินทรีย์สำหรับควบคุม เพลี้ยไฟมังคุด : ประโยชน์ของการใช้ MAKA และ FK-1
เพลี้ยไฟมังคุด (Thrips mangiferae) เป็นศัตรูพืชทั่วไปที่สามารถทำลายต้นมังคุดและทำให้ผลผลิตลดลง แมลงขนาดเล็กเหล่านี้กินใบและดอกของต้นไม้ ทำให้พวกมันบิดเบี้ยวและแคระแกรน เพลี้ยไฟมังคุดสามารถทำลายต้นอ่อนได้

วิธีหนึ่งที่ได้ผลในการควบคุมเพลี้ยไฟมังคุดคือการใช้สารกำจัดศัตรูพืชอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ทำจากวัสดุธรรมชาติและปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกว่ายาฆ่าแมลงสังเคราะห์

สารกำจัดศัตรูพืชอินทรีย์ชนิดนี้คือ MAKA ซึ่งทำจากส่วนผสมของสารสกัดจากพืชและน้ำมันหอมระเหย มาคา มีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงศัตรูพืชหลายชนิด รวมทั้งเพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน และไร อีกทั้งยังปลอดภัยสำหรับใช้กับพืชอาหาร จึงเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมสำหรับชาวสวนมังคุด

อีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่สามารถใช้ร่วมกับ MAKA ได้คือ FK-1 ซึ่งเป็นปุ๋ยที่มีธาตุอาหาร เช่น แมกนีเซียม สังกะสี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม รวมทั้งสารลดแรงตึงผิว การผสมผสานของสารอาหารและสารลดแรงตึงผิวนี้ช่วยบำรุงพืชและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ในขณะเดียวกันก็ช่วยป้องกันเพลี้ยและแมลงศัตรูพืชอื่นๆ

การใช้ MAKA และ FK-1 ร่วมกันเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยไฟในมังคุด ในขณะเดียวกันก็ช่วยบำรุงต้นและช่วยให้พืชฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของเพลี้ย การรวมกันของทั้งสองผลิตภัณฑ์ยังสามารถช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืชและเพิ่มผลผลิต

โดยรวมแล้ว การใช้สารกำจัดศัตรูพืชอินทรีย์ MAKA และปุ๋ย FK-1 สามารถเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยในการควบคุมเพลี้ยไฟมังคุด และปรับปรุงสุขภาพและผลผลิตของต้นมังคุด

สนใจ มาคา และ FK1 ช่องทางสั่งซื้อ

ลาซาด้า

FK-1 บนลาซาด้า ราคา 890 บาท http://ไปที่..link..

มาคา บนลาซาด้า ราคา 470 บาท http://ไปที่..link..

ช้อปปี้

FK-1 บนช้อปปี้ ราคา 890 บาท http://ไปที่..link..

มาคา บนช้อปปี้ ราคา 470 บาท http://ไปที่..link..

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี @FarmKaset
สารกำจัดศัตรูพืชอินทรีย์สำหรับควบคุม เพลี้ยไฟมังคุด : ประโยชน์ของการใช้ MAKA และ FK-1
อ่าน:3365
โรคราน้ำค้างองุ่น (Downy mildew) - โรคองุ่น
125.25.174.239: 2564/04/29 13:49:20
โรคราน้ำค้างองุ่น (Downy mildew) เกิดจากเชื้อ Plasmopara viticola โดยอาการที่แสดงให้เห็นนั้น จะเป็นขุยสีขาวที่ใต้ใบองุ่น ด้านบนใบจะเห็นเป็นสีเหลืองเป็นจ้ำๆ ถ้าเป็นรุนแรงใบจะไหม้ ช่อดอกและผลอ่อนเหี่ยวแห้ง

การระบาดของโรคราน้ำค้างองุ่น : ระบาดในช่วงฤดูฝน หรือในช่วงที่มีความชื้นสูง

การป้องกันกำจัดโรคราน้ำค้างองุ่น :

1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค

2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน

3. งดให้น้ำในช่วงเย็น

4. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

5. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด
โรคราน้ำค้างองุ่น (Downy mildew) - โรคองุ่น
อ่าน:3364
การป้องกันกำจัด โรคใบจุดสีน้ำตาล และ โรคใบขีดสีน้ำตาล ในนาข้าว ด้วยสารอินทรีย์
162.158.204.214: 2566/01/07 12:47:25
การป้องกันกำจัด โรคใบจุดสีน้ำตาล และ โรคใบขีดสีน้ำตาล ในนาข้าว ด้วยสารอินทรีย์
ข้าวเป็นพืชหลักสำหรับผู้คนหลายล้านคนทั่วโลก และสิ่งสำคัญคือต้องแน่ใจว่าข้าวแข็งแรงและปราศจากโรคที่อาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต โรคที่พบบ่อย 2 โรคที่ส่งผลกระทบต่อต้นข้าว ได้แก่ โรคใบจุดสีน้ำตาล และโรคใบขีดสีน้ำตาล ซึ่งทั้งสองโรคมีสาเหตุจากเชื้อรา ในบทความนี้ เราจะศึกษาวิธีการป้องกันและกำจัดโรคเหล่านี้โดยใช้สารประกอบอินทรีย์ ไอเอส และ FK-1 ซึ่งเป็นสารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช

วิธีหลักวิธีหนึ่งในการป้องกันโรคใบจุดสีน้ำตาลและโรคใบขีดสีน้ำตาลคือการใช้เทคนิคการควบคุมด้วยไอออนเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมบนใบพืชที่ไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของเชื้อรา สามารถทำได้โดยการผสม ไอเอส และ FK-1 แล้วฉีดพ่นพร้อมกันบนพืช ไอเอส มีประสิทธิภาพในการกำจัดโรค ในขณะที่ FK-1 ช่วยเร่งการงอกใหม่ของพืชและส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิต

FK-1 ประกอบด้วยสารอาหารที่จำเป็นหลายชนิด ได้แก่ แมกนีเซียม สังกะสี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม รวมทั้งสารลดแรงตึงผิวที่ช่วยให้สารอาหารซึมผ่านใบและรากของพืช โดยการให้สารอาหารเหล่านี้ FK-1 ช่วยบำรุงและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชที่ดี ซึ่งสามารถช่วยป้องกันโรคต่างๆ ตั้งแต่แรกเริ่ม

ในการใช้ ไอเอส และ FK-1 อย่างมีประสิทธิภาพ สิ่งสำคัญคือต้องทำตามปริมาณที่แนะนำและคำแนะนำในการใช้ยา สิ่งนี้จะช่วยให้แน่ใจว่าพืชได้รับสารอาหารในปริมาณที่เหมาะสม

สรุปได้ว่า สารอินทรีย์ ไอเอส และ FK-1 เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคใบจุดสีน้ำตาลและโรคใบจุดสีน้ำตาลในนาข้าว ด้วยการใช้เทคนิคการควบคุมไอออนและการให้สารอาหารที่จำเป็น ผลิตภัณฑ์เหล่านี้สามารถช่วยสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่อให้ต้นข้าวเจริญเติบโต ส่งผลให้การเจริญเติบโตและผลผลิตเพิ่มขึ้น

เลือกซื้อปุ๋ยยาฯ เลื่อนลงอีกนิดนึงนะคะ
อ่าน:3362
โรคราแป้ง ที่เกิดกับ แตงกวา
113.53.18.52: 2564/08/09 05:45:36
โรคราแป้ง ที่เกิดกับ แตงกวา
สาเหตุของ โรคราแป้งแตงกวา เกิดจากเชื้อรา ออยเดียม Oidium sp.

ลักษณะอาการ ของโรคแตงกวาเป็นราแป้ง

มักเกิดที่ใบล่างก่อนในระยะที่ผลโตแล้วโดยจะพบราสีขาวคล้ายผลแป้ง ปกคลุมอยู่เป็นหย่อมๆ กระจายอยู่ทั่วไปบนใบ เมื่อการรุนแรง จะพบเชื้อราปกคลุมเต็มผิวใบ ท้าให้ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วแห้งตาย

การป้องกันกำจัดโรคราแป้ง ในแตงกวา

- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงแตงกวา ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3360
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
101.51.71.137: 2564/08/11 06:10:56
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
เพลี้ยอ่อนผักบุ้ง

ชื่อวิทยาศาสตร์ Aphis gossypii (Aphidiae) เพลี้ยอ่อนจะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง ทำให้ผลผลิตผักบุ้งเสียหาย ตัวอ่อนมีสีเขียวเข้ม บางครั้งพบตัวอ่อนสีเหลืองซีด หากพบใต้ใบหนาแน่น

ป้องกัน กำจัดเพลี้ยอ่อนผักบุ้ง ด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก

ชื่อวิทยาศาสตร์ Acherontia lachesis (Sphingidae) หนอนผีเสื้อจะกัดกินใบผักบุ้ง จนเกิดความเสียหาย ลักษณะตัวหนอน จมีสีเขียวแถบเหลือง ของฟ้า โตเต็มวัย ยาวประมาณ 10-12 ซม.

ป้องกัน กำจัดหนอนในผักบุ้ง กำจัดหนอนต่างๆ ด้วย ไอกี้-บีที

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราสนิมขาว ในผักบุ้ง

โรคราสนิมขาว สร้างความเสียหายให้กับผักบุ้ง ทั้งผักบุ้งไทย และผักบุ้งจีน สามารถพบโรคนี้ได้ทั่วไป

อาการของโรคราสนิมขาว จะเกิดจุดเหลืองซีด บริเวณใบผักบุ้ง หลังจากนั้นจะเริ่มเป็นแผลสีขาว อยู่รวมกันเป็นกระจุก ส่งผลให้ผักบุ้งโตช้า ได้ผลผลิตน้อย และดูไม่สวยงาม ไม่น่าทาน ทำให้ขายยาก ราคาตก

สาเหตุของโรคราสนิมขาว

เกิดจากเชื้อรา Albugo ipomoeae-aquaticae ซึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ดี หรือลุกลามเข้าทำลายได้มาก ในช่วงอุณหภูมิ 10-35 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภมิทั่วไปของไทย

ป้องกัน กำจัดโรคราสนิมขาว ในผักบุ้ง ยับยั้งโรคผักบุ้งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ด้วย ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งโต ฉีดพ่นด้วย FK-1 ช่วยให้พืชโตไว ได้ผลผลิตสูงขึ้น

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ่าน:3359
โรคพืช โรคในมะละกอ โรคในมะพร้าว โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส แก้ได้
110.169.175.187: 2564/06/27 08:47:42
โรคพืช โรคในมะละกอ โรคในมะพร้าว โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส แก้ได้
โรคพืชของพืช มะละกอ พบโรคแอนแทรคโนสบนผลสาเหตุเกิดจาก Colletotrichum gloeosporioides โรคผลเน่าสาเหตุเกิดจาก Lasiodiplodia theobromae โรคจุดดำสาเหตุเกิดจาก Asperisporium caricae โรคใบจุดสาเหตุเกิดจาก Alternaria alternate, Corynespora cassiicola, Cercospora, Phoma และ Mycosphaerella โรครากเน่าโคนเน่าสาเหตุเกิดจาก Phytophthora plamivora โรคราแป้งสาเหตุเกิดจาก Oidium โรคจุดวงแหวนสาเหตุเกิดจาก Papaya ringspot virus

.

มะพร้าวหอม โรคใบจุดสาเหตุเกิดจาก Pestalotiopsis โรคใบจุดสาหร่ายสาเหตุเกิดจาก Cephaleuros virescens โรคเปลือกแตกยางไหลสาเหตุเกิดจากรา Ceratocystis paradoxa โรคยอดเน่าและผลเน่าสาเหตุเกิดจาก Phytophthora palmivora โรครากเน่าสาเหตุเกิดจากรา Ganoderm

.

ข้อมูลจาก http://doa.go.th/research/showthread.php?tid=26&pid=26

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้ง เชื้อรา ไวรัส แบคทีเรีย โรคใบไหม้ ใบแห้ง ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดตากบ แคงเกอร์ ไฟท็อปโธร่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/products/fk-3-i388594842-s754764572.html

โรคพืช โรคในมะละกอ โรคในมะพร้าว โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส แก้ได้
อ่าน:3359
มะระ ยารักษาโรคราน้ำค้างมะระจีน มะระต่างๆ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
172.70.143.15: 2564/10/05 10:44:10
มะระ ยารักษาโรคราน้ำค้างมะระจีน มะระต่างๆ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
มะระ มะระจีน มะระขี้นก มะระต่างๆ โรคในมะระที่จะพบบ่อยๆ คือ โรคราน้ำค้างมะระ ส่วนโรคอื่นๆ อาจจะพบบ้าง ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม เช่น โรคราแป้งมะระ โรคมะระใบจุด

ชุดคู่ป้องกันกำจัด บวกด้วยฟื้นฟูบำรุง

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ โรคใบไหม้ ใบจุด ยอดแห้ง ราสนิม ราน้ำค้าง แอนแทรคโนส ไฟทอปโธร่า

และ FKธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู แก้ต้นโทรม ราพืชไม่กินปุ๋ย อาการใบซีด ใบเหลือง ต้นแคระ อาการขาดธาตุอาหารของพืช

โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น อาการ ใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำต้าง โรคใบติด ราสนิม ราน้ำค้าง โรคกุ้งแห้ง แอนแทรคโนส ไฟท็อปโธร่า เป็นต้น

ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุนั้น ต้องสังเกตุอาการ และแก้ปัญหาทีละจุด

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FKธรรมชาตินิยม แก้ปัญหาโรคพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชต่างๆ และส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดไปถึง การส่งเสริมผลผลิตพืช

ยกตัวอย่างเช่น

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากโรคเชื้อรา
- โรคใบไหม้ โรคใบจุด และโรคใบขีดสีน้ำตาล จะต่างจากการขาดธาตุที่สังเกตุได้คือ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา จะลุกลามไปยังใบไหม้ และลุกลามขยายวงไปยังต้นข้างเคียง
- โรคราแป้ง ราสนิม ราน้ำค้าง มีการลุกลามติดต่อเช่นกัน

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากการขาดธาตุ
- ขาด โพแทสเซียม ที่ใบแก่จะเหลืองซีด ขอบใบมีจุดสีน้ำตาลไหม้
- ขาด แมกนีเซียม ใบจะมีจุดเหลืองทั่วทั้งใบ ที่ปลายใบจะแห้ง
- ขาด สังกะสี ใบจะมีจุดเหลืองคล้ายราสนิม

อาการใบเหลือง ใบซีด ก็เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ใบเหลือง จากการขาดธาตุ ไนโตรเจน
- ใบเหลือง เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ
- ใบเหลือง เพราะรดน้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป
- ใบเหลือง เพราะค่า pH หรือความเป็นกรดด่างของดิน ไม่เหมาะสม
- ใบเหลือง เพราะขาดธาตุเหล็ก
- ใบเหลือง เพราะพืชลดจำนวนคลอโรฟิลล์ เพราะการขาดธาตุรอง หรือธาตุเสริมบางอย่าง

อาการใบไหม้และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ทุก 3-5 วัน

อาการของพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุต่างๆ ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม

หมายเหตุ สามารถ ผสม ไอเอส และ FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปพร้อมกันในคราวเดียว

อัตราส่วนผสม
ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
FKธรรมชาตินิยม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
*สำหรับท่านที่พ่นด้วย ฟ็อกกี้ ขนาด 1-2ลิตร ใช้ฝา FKธรรมชาตินิยมตวงประมาณ 2ฝา


การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3358
อาการใบหงิกม้วนในมะเขือเทศเชอร์รี่แดง
172.68.106.115: 2564/08/27 02:23:08
อาการใบหงิกม้วนในมะเขือเทศเชอร์รี่แดง
ใบหงิกม้วน อาจเกิดจากหลายปัจจัย ได้แก่ โรคไวรัส ธาตุอาหารไม่สมดุล และสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง อาการที่พบ มักพบอาการใบหงิกงอในใบอ่อนหรือส่วนบนใกล้ยอด แต่ใบด้านล่างปกติ ไม่แสดงอาการม้วนงอ

สาเหตุ

1. เกิดจากไวรัส

2. เกิดจากได้พืชรับธาตุอาหารไม่เพียงพอหรือไม่สมดุล

3. เกิดจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง

การสังเกตลักษณะอาการ

1. ให้สำรวจและตรวจสอบประชากรแมลงในแปลง เช่น แมลงหวี่ขาว เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน แมลงศัตรูพืชทั้ง 3 ชนิดนี้ เป็นพาหะนำโรคไวรัส แต่หากไม่พบแมลง ไม่มีร่องรอยการทำลาย และต้นมีความสมบูรณ์ดี ก็ไม่น่าจะใช่โรคไวรัส

2. หากตรวจสอบต้นมะเขือเทศเชอรี่แดงทั้งลำต้น โดยสังเกตที่ใบ เช่น หากใบด้านล่างหรือใบชุดแรกมีความสมบูรณ์ แล้วใบด้านบน บริเวณใกล้ยอดมีอาการผิดปกติและหงิกม้วน อาจเกิดจากมะเขือเทศเชอรี่แดงได้รับธาตุอาหารบางชนิดไม่เพียงพอ โดยเฉพาะ โบรอนและแคลเซี่ยม โดยหากได้รับไม่เพียงพอจะทำให้พบอาการบิดม้วนของใบอ่อน

3. ในช่วงฤดูร้อนและอากาศค่อนข้างแห้ง อาจส่งผลให้ต้นมะเขือเทศมีการปรับตัวต่อสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงโดยแสดงอาการใบหงิกม้วน ทั้งนี้ ให้สังเกตว่ามะเขือเทศเชอร์รี่แดงที่แสดงอาการว่าปลูกในทิศใดหรือบริเวณจุดใดของโรงเรือน

แนวทางป้องกัน/แก้ไข

1. คลุมหลังคาด้วยตาข่ายพรางแสง 25-50% ความกว้าง 1 เมตร โดยขึงทิศเหนือใต้ ระยะห่างระหว่างตาข่ายพลางแสงแต่ละผืน 1 เมตร (เว้นช่องเพื่อให้ได้รับแสงโดยตรง)

2. รดน้ำในแปลง ทางเดิน หรือติดหัวพ่นหมอก หรือสปริงเกอร์ฝอยในโรงเรือน เพื่อเพิ่มความชื้น หรือติดสปริงเกอร์บนหลังคาเพื่อลดอุณหภูมิภายในโรงเรือน หากถ้าวางกระถางบนพลาสติก ให้นำท่อพีวีซี 1 นิ้ว วางใต้พลาสติกตามยาวเพื่อทำเป็นขอบไว้กักน้ำที่ซึมออกมาจากกระถาง

3. ติดตั้งพัดลม เปิดหลังคา เพิ่มการระบายอากาศ (ตรวจสอบแบบโรงเรือนดูก่อนว่าสามารถทำได้หรือไม่)

4. ควบคุมการให้น้ำให้ปุ๋ย ตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนำ โดยยึดหลักการว่า ฤดูร้อน ให้น้ำน้อยแต่บ่อยครั้ง

5. ฉีดพ่นปุ๋ยทางใบด้วยธาตุอาหารแคลเซียม โบรอน และแมกนีเซียม โดยพ่นปุ๋ยทางใบอัตราไม่เกินครึ่งหนึ่งของฉลาก 1 ครั้ง/สัปดาห์ หรือ 1/4 ของฉลากทุกๆ 3 วัน (เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด เวลาพ่นปุ๋ยแคลเซียมและโบรอนทางใบ ควรผสมกรดฟูลวิค Fulvic acid หรือกรดอะมิโน เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนธาตุอาหาร เข้าสู่ใบได้ดีขึ้น) หรือฉีดพ่นปุ๋ยทางใบที่มี หรือปรับสูตรปุ๋ยระบบน้ำโดยเพิ่มธาตุอาหารแคลเซียม โบรอนและแมกนีเซียม เพื่อให้มะเขือเทศได้รับธาตุอาหารที่เหมาะสมและสมดุล

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3357
3496 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 349 หน้า, หน้าที่ 350 มี 6 รายการ
|-Page 39 of 350-| 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 |
6 บริษัทไทย ติดอันดับสุดยอด 200 บริษัท ประจำปี 2555 โดย Forbes Asia
Update: 2565/11/14 06:50:43 - Views: 3838
5 เคล็ดลับ เลือกข้าวหอมมะลิยังไงให้ได้ข้าวที่หุงแล้วหอม สวย ขึ้นหม้อ
Update: 2563/05/13 17:09:38 - Views: 4327
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธาตุอาหารของพืช ธาตุหลัก ธาตุรอง ที่พืชจำเป็นต้องใช้ในการเจริญเติบโต
Update: 2563/06/16 22:23:14 - Views: 7596
ควบคุม ป้องกัน กำจัด แมลงศัตรูพืช และโรคพืช ที่ติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อ
Update: 2563/11/05 09:37:56 - Views: 5016
🦗กำจัดเพลี้ย! พืชใบหงิก ใบเป็นคลื่น ดอกหลุดร่วงติดผลน้อย.. เพลี้ยระบาดหรือ?
Update: 2564/06/11 00:58:43 - Views: 2979
คุยกับคุณวินน์ สุทธิเดช ผู้บริหาร ICD มุกดาหาร และวอวิศโฮม อำนาจเจริญ - Piyamas Live ปิยะมาศ บัวแก้ว
Update: 2563/05/31 20:49:58 - Views: 3881
ย่อยสลายตอซัง ย่อยสลายฟางข้าว ย่อยสลายตอฟาง รวดเร็วใน 7-10 วัน ลดข้าวดีด คืนความสมบูรณ์ให้กับดิน ไอซีคิท
Update: 2565/04/20 08:34:00 - Views: 3106
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน ฝรั่ง และพืช ทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/03/28 15:13:01 - Views: 3003
การป้องกันกำจัด โรคกิ่งแห้งของทุเรียน
Update: 2566/01/16 13:41:37 - Views: 3190
โรคมันสำปะหลัง มันสำปะหลังขาดธาตุสังกะสี ทำให้โตช้า พบจุดขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบย่น ขาดรุนแรงอาจตายได้
Update: 2564/03/07 00:03:14 - Views: 4511
แตงโมใบไหม้ แตงโมใบแห้ง โรคราแตงโม แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/08/12 00:07:53 - Views: 4961
กำจัดหนอนชอนใบมะนาว ด้วย ไอกี้-บีที ยากำจัดหนอนปลอดสารพิษ
Update: 2564/08/31 10:25:56 - Views: 4048
มังคุด โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ ผลผลิตดี มีน้ำหนัก อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/31 16:02:55 - Views: 2957
การปลูกแมคคาเดเมีย Macadamia
Update: 2564/04/04 09:47:22 - Views: 4579
ปุ๋ยทุเรียน FK-1 ประสิทธิภาพสูง ทุเรียนโตไว แข็งแรง ได้ผลผลิตดี
Update: 2565/12/12 19:23:22 - Views: 2967
โรคยางพาราใบไหม้ ใบจุด ไฟท็อปโธร่า โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/28 04:19:59 - Views: 3063
ยากำจัดโรคยอดเน่า รากเน่า ใน สับปะรด โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/05 10:07:33 - Views: 7751
โรคข้าวโพด โรคราน้ำค้าง หรือโรคใบลาย (Corn Downy Mildew)
Update: 2564/02/09 22:35:16 - Views: 3014
ดอกดาวเรือง ดอกเน่า ใบจุด ใบไหม้ รากเน่า เหี่ยวเฉา ราสนิม โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นด้วย ปุ๋ย FKT
Update: 2567/03/25 11:09:54 - Views: 45
ยารักษาโรคพืช กำจัดโรคราแป้ง ในมะม่วง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)1,200ลิตร
Update: 2566/05/30 14:03:02 - Views: 3028
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022