<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย แจ้งเนื้อหาไม่ตรงคำค้น แจ้งภาพเสีย แจ้งคุณภาพต่ำ

ยาแก้โรครา ในถั่วเขียว และถั่วต่างๆ รากำจัดเพลี้ยใน ถั่ว ถั่วเขียว ยากำจัดหนอน และ ปุ๋ยสำหรับ ถั่วต่างๆ

101.51.217.64 2563/06/28 12:38:39 , View: 3949, e
FK

FK


เลือกสินค้าได้เลยนะคะ (สั่งมากกว่าอย่างละ 1 ขวด โทร 090-592-8614 หรือ ไลน์ไอดี @FarmKaset นะคะ)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFKธรรมชาตินิยมกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
รวมชำระปลายทาง 0 บาท




สั่งซื้อมากกว่านี้ หรือนอกเหนือจากนี้ ติดต่อตามปุ่มด่านล่างที่คุณสะดวกได้เลยนะคะ

ส่งฟรีถึงบ้าน ไม่มีค่าจัดส่ง
เก็บเงินปลายทาง ไม่ต้องโอน สบายใจ





ยาแก้โรครา ในถั่วเขียว และถั่วต่างๆ รากำจัดเพลี้ยใน ถั่ว ถั่วเขียว ยากำจัดหนอน และ ปุ๋ยสำหรับ ถั่วต่างๆ

โรคของถั่วเขียว และ การป้องกันกำจัด

1. โรคใบจุดสีน้ำตาล ในถั่วเขียว (Cercospora Leafs Spot)
โรคนี้พบระบาดในฤดูฝน เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อ Cercospora canescens Ellis & Martin มักเกิดกับถั่วเขียวอายุตั้งแต่ 2 สัปดาห์ หลังการงอก และมีการระบาดมากในช่วงออกดอกจนถึงระยะที่ใกล้เก็บเกี่ยว ลักษณะของโรค คือ ใบเป็นจุดสีน้ำตาล มีลักษณะค่อนข้างกลม ตรงกลางแผลมองเห็นเป็นเส้นใยสีเทา ขนาดแผลเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 มม. – 5 มม. อาจมีลักษณะเป็นวงสีเหลืองรอบแผล ขณะขยายตัว เมื่อแผลชิดกันจะมีลักษณะสีน้ำตาล ผลของโรค คือ ทำให้ฝักลีบ และมีขนาดเล็ก

2. โรคราแป้ง ในถั่วเขียว (Powdery Mildrew)
โรคนี้พบการระบาดในช่วงฤดูหนาวถึงฤดูแล้ง โดยเฉพาะในช่วงที่มีอากาศเย็น เป็นเชื้อราพวก Oidium sp. สปอร์จะได้รับความชื้น และเติบโตสร้างเส้นใยดูดกินน้ำเลี้ยงจากผิวใบของถั่ว ทำให้ใบแห้ง ลักษณะที่พบมักเกิดตามใบล่าง โดยมีเส้นใยของราสีขาวคล้ายผงแป้งบนใบถั่ว ต่อมาใบเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง และแห้งตาย ต้นถั่วเขียวแคระแกรน หากเกิดโรคในระยะออดอกหรือติดฝัก จะทำให้ผลผลิตน้อยลง

การป้องและกำจัด โรคราแป้งในถั่วเขียว ฉีดพ่นด้วย ไอเอส

แมลงศัตรูถั่วเขียว และการป้องกันกำจัด

1. หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว (bean fly) เกิดจากหนอนแมลงที่วางไข่ ( 50-100 ฟอง/ตัว) ในระยะต้นกล้าหลังงอกใหม่ เมื่อฟักตัวเป็นหนอนจะเข้ากัดกินเนื้อเยื่อตามใบ และลำต้น ทำให้ต้นถั่วตาย หากเป็นต้นถั่วโตแล้ว หนอนจะเข้าเจาะกินลำต้นบริเวณยอด ทำให้ยอดเหี่ยวตาย การป้องกัน และกำจัดทำ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที

2. เพลี้ยอ่อน ใน ถั่วเขียว ถั่วงอก (Aphid) พบระบาดมากในฤดูแล้งหรือฝนทิ้งช่วง โดยเพลี้ยจะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยงตามยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และฝักอ่อน ทำให้ยอดหงิกงอ ดอกร่วง ฝักร่วง และต้นแคระแกรน การป้องกันกำจัด ฉีดพ่นด้วย มาคา

3. เพลี้ยไฟ ถั่วเขียว (Thrips) พบระบาดมากในช่วงฝนฝนทิ้งช่วง และแดดร้อน โดยเข้าดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนยอด และดอก ทำให้ยอดหงิกงอ ใบแห้ง ดอกร่วง ฝักอ่อนร่วงหรือลีบ ไม่ติดเมล็ด ป้องกัน และกำจัดโดยวิธีฉีดพ่นด้วย มาคา

4. หนอนเจาะฝัก (Pod Borers) พบระบาดในปลายฤดูฝนหรือฤดูแล้ง ป้องกัน และกำจัดโดยการฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที

ยาป้องกันกำจัดโรค ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน ซึ่งใช้ได้กับทุกพืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ ที่ปลูกในประเทศไทย

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ้างอิงข้อมูลบางส่วนจาก sites.google.com/site/ phanthuchaynath841/ rokh-khxng-thaw-kheiyw -laea-kar-pxngkan-kacad





ยาป้องกัน กำจัด โรคพืช และแมลงศัตรูพืช

ชุดคุ้มค่า ป้องกันกำจัดโรคพืช FKT+IS


FK-3 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งผล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก


FK-1 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งโต


อัตราผสม

รีวิวยาอินทรีย์

สารอินทรีย์ปลอดภัย รีวิว

ประสบการผู้ใช้ ยาอินทรีย์

ยาอินทรีย์ดีดี

การจัดส่ง ยาอินทรีย์
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ บุษกร คำผาลา, Friday 19 April 2024 13:57:14, เลขจัดส่ง SMAM000198031RW
คุณ ธนศักดิ์ ขวัญสุด, Friday 19 April 2024 13:35:55, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธรรมนูญ, Friday 19 April 2024 13:34:52, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ณัฐวุฒิ พิกุลหอม, Friday 19 April 2024 13:33:49, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ไมตรี พนันชัย, Friday 19 April 2024 13:31:58, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ นิยดา เจริญสุข, Friday 19 April 2024 13:23:50, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธนวิน บุญมาทัน, Friday 19 April 2024 13:22:10, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ทรรศภูมิ ดาผา, Friday 19 April 2024 13:20:52, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สังวาลย์ บุเงิน, Friday 19 April 2024 13:19:31, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ มารุต อินทร์อวยพร, Friday 19 April 2024 13:18:09, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
ระวัง!! โรคเน่าเละ ในผักกาดขาว สร้างความเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร ??
Update: 2566/11/03 13:30:34 - Views: 288
ไม้ด่าง พันธุ์ไม้ด่าง ใบไหม้ ใบจุด ราสนิม โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/13 23:05:05 - Views: 3002
แนวทางอินทรีย์สำหรับป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในมะเขือเปราะ
Update: 2566/05/13 11:09:35 - Views: 3041
3 หลักปฏิบัติ กำจัด โรคใบด่างมันสำปะหลัง โดย กรมส่งเสริมการเกษตร
Update: 2563/06/15 10:14:35 - Views: 2939
มะระ ยารักษาโรคราน้ำค้างมะระจีน มะระต่างๆ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/05 10:44:10 - Views: 3350
คำนิยม - ลูกค้าใช้ไอเอส แก้โรคใบติดในทุเรียน ตอนแรกซื้อขวดเล็ก และได้ผลจึงสั่งเพิ่มอีกแกลลอนใหญ่
Update: 2562/10/24 13:20:50 - Views: 3002
ดินในไร่ของเรา ปลูกมันสำปะหลังพันธุ์ไหนดี? การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะกับดินในพื้นที่ปลูกของเรา
Update: 2563/06/13 20:30:45 - Views: 3171
การเพิ่มผลผลิตทุเรียนสูงสุดด้วยปุ๋ย FK-1 และ FK-3
Update: 2566/01/06 07:16:11 - Views: 2976
อาการใบหงิกม้วนในมะเขือเทศเชอร์รี่แดง
Update: 2564/08/27 02:23:08 - Views: 3340
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอย ศัตรูพืชที่มากับหน้าร้อน สำหรับพืชทุกชนิด
Update: 2567/02/21 14:44:39 - Views: 75
การควบคุมวัชพืชในสวนกล้วย การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:23:20 - Views: 104
กำจัด โรคผลเน่า ในต้นทุเรียน แก้ปัญหาโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์คุณภาพสูง จาก FK ขนาด 250 ซีซี
Update: 2566/05/23 14:01:08 - Views: 6278
ยากำจัดหนอนบวบ หนอนชอนใบบวบ หนอนศัตรูบวบ หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้-บีที
Update: 2564/10/02 03:37:14 - Views: 3168
ฉลาดกิน ฟ้าทะลายโจรสู้โรค ป้องกันโควิด-19
Update: 2564/08/12 22:11:04 - Views: 2943
เพิ่มผลผลิตสูงสุดด้วยปุ๋ย วันเดอร์ส้ม
Update: 2565/12/28 20:29:27 - Views: 3100
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: เสริมสร้างความสมบูรณ์แบบที่ช่วยสนับสนุนการเจริญเติบโตของแตงโม
Update: 2567/02/13 09:02:55 - Views: 111
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในต้นมะลิ
Update: 2566/05/06 09:40:37 - Views: 3009
การป้องกันกำจัดโรคราดำในทุเรียนด้วยสารอินทรีย์ ไอเอส
Update: 2566/01/06 13:50:48 - Views: 3475
ทุเรียนใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส โคนเน่า ราแป้ง ราสีชมพู โรคต่างๆจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2562/08/18 15:11:54 - Views: 4515
การป้องกัน โรคมังคุดผลเน่า ด้วยสารอินทรีย์ โรคนี้ต้องเน้นที่การป้องกัน
Update: 2566/01/14 09:27:50 - Views: 3106
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022