<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย แจ้งเนื้อหาไม่ตรงคำค้น แจ้งภาพเสีย แจ้งคุณภาพต่ำ

มันสำปะหลังใบไหม้ โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มีอาการใบจุดเหลี่ยมฉ่ำน้ำ ใบไหม้ และใบเหี่ยว มียางไหล ยอดแห้ง ยอดเหี่ยว

1.46.98.54 2563/06/14 13:33:53 , View: 3469, e
FK

FK


เลือกสินค้าได้เลยนะคะ (สั่งมากกว่าอย่างละ 1 ขวด โทร 090-592-8614 หรือ ไลน์ไอดี @FarmKaset นะคะ)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFKธรรมชาตินิยมกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
รวมชำระปลายทาง 0 บาท




สั่งซื้อมากกว่านี้ หรือนอกเหนือจากนี้ ติดต่อตามปุ่มด่านล่างที่คุณสะดวกได้เลยนะคะ

ส่งฟรีถึงบ้าน ไม่มีค่าจัดส่ง
เก็บเงินปลายทาง ไม่ต้องโอน สบายใจ





มันสำปะหลังใบไหม้ โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มีอาการใบจุดเหลี่ยมฉ่ำน้ำ ใบไหม้ และใบเหี่ยว มียางไหล ยอดแห้ง ยอดเหี่ยว

โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB)

เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้ขาดแหล่งโปรตีนและไวตามินที่สำคัญสำหรับประชากรในบางประเทศ เนื่องจากคนเหล่านั้นรับประทานใบมันสำปะหลังแทนผัก ฉะนั้น โรคใบไหม้จึงมีความสำคัญเป็นอันดับ 1 ในแถบอัฟริกา และลาตินอเมริกา สำหรับประเทศทางแถบเอเชีย เช่น ประเทศจีน และประเทศไทย ความเสียหายจัดอยู่ในระดับปานกลาง

ลักษณะอาการเริ่มแรก

แสดงอาการใบจุดเหลี่ยมฉํ่านํ้า ใบไหม้ ใบเหี่ยว ยางไหลจนถึงอากยอดเหี่ยวและแห้งตายลงมา นอกจากนี้ยังทำให้ระบบท่อนํ้าอาหารของลำต้นและรากเน่า

ท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค

แสดงอาการ คือ ยอดที่ผลิตใหม่ เหี่ยว มียางไหล และมีอาการแห้งตายจากยอดอย่างรวดเร็ว และแพร่ระบาดไปยังต้นข้างเคียง ซึ่งมักจะแสดงอาการเป็นจุดชํ้าเล็กที่ต้นแล้วแผลขยายใหญ่เปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลเข้มลุกลามเป็นแผลใหญ่ บางครั้งจะพบวงสีเหลือง (yellow halo) ลามเป็นใบไหม้ และใบร่วง ลำต้นแห้งตาย เมื่อผ่าดูระบบท่อนํ้าและอาหารทั้งของลำต้น และรากจะมีสีคลํ้า เนื่องจากเนื้อเยื่อของส่วนนี้ถูกทำลาย ในบางครั้งจะพบอาการยางไหลบนส่วนลำต้นที่ยังอ่อนหรือก้านใบ และแผลจุดบนใบ พบระบาดมากได้ในช่วงฤดูฝน

การแพร่ระบาดของโรคที่สำคัญ

คือ ติดไปกับท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค แพร่กระจายไปโดยฝนหรือกับดิน หรือกับเครื่องมือที่ใช้ในการเกษตร เช่น มีดที่ใช้ในการตัดท่อนพันธุ์ ในบางประเทศมีรายงานว่า แมลงเป็นตัวการในการแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุของโรคสามารถอยู่รอดในดินบนเศษซากพืชได้นานกว่า 2 ปี

การป้องกันกำจัด

1. ใช้พันธุ์ต้านทาน พันธุ์ที่แนะนำในปัจจุบัน มีความต้านทานต่อโรคปานกลาง

2. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อ

3. ปลูกพืชอายุสั้นเป็นพืชหมุนเวียน หรือหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในแปลงที่ระบาดรุนแรงนาน 6 เดือน

4. ใช้ชีววิธี (Biological control) การฉีดพ่นเชื้อบักเตรีเรืองแสง เช่น Pseudomonas fluorescens บนใบมันสำปะหลังพันธุ์ Mcol 22 ซึ่งอ่อนแอต่อโรคใบไหม้ ทำให้จำนวนจุดบนใบและจำนวนใบไหม้ต่อต้นลดลง และทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 2.7 เท่า

อ้างอิง
กรมวิชาการเกษตร
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/52

สินค้าแนะนำ จากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)




ยาป้องกัน กำจัด โรคพืช และแมลงศัตรูพืช

ชุดคุ้มค่า ป้องกันกำจัดโรคพืช FKT+IS


FK-3 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งผล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก


FK-1 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งโต


อัตราผสม

รีวิวยาอินทรีย์

สารอินทรีย์ปลอดภัย รีวิว

ประสบการผู้ใช้ ยาอินทรีย์

ยาอินทรีย์ดีดี

การจัดส่ง ยาอินทรีย์
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ พิชัย ประทุม, Tuesday 16 April 2024 14:49:07, เลขจัดส่ง KERRY EXPRESS
คุณ เกรียงไกร พุทธสอน, Tuesday 16 April 2024 14:48:05, เลขจัดส่ง KERRY EXPRESS
คุณ อภิวัฒน์ ไชยคล้าย, Tuesday 16 April 2024 14:45:05, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อิบตีซาม มะนอ, Tuesday 16 April 2024 14:43:32, เลขจัดส่ง KERRY EXPRESS
คุณ กิตติวัฒน์ เรืองสุทธา, Tuesday 16 April 2024 14:42:18, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ศรัณย์รักษ์ เหลืองอ่อน, Tuesday 16 April 2024 14:40:52, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ แพม, Tuesday 16 April 2024 14:38:52, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Saran Anning, Tuesday 16 April 2024 14:37:26, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธัญญรัตน์, Tuesday 16 April 2024 14:35:46, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อธิษฐ์สิชฌ์สุทธิรัตน์, Tuesday 16 April 2024 14:32:28, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
การป้องกันกำจัดโรคราสีชมพูในทุเรียนด้วยสารอินทรีย์ ไอเอส
Update: 2566/01/06 14:04:31 - Views: 3243
ต้นชมพู่ สวยแบบนี้ ปลูกยังไง ต้องไส่ปุ๋ยอะไรนะ??
Update: 2566/11/04 11:40:59 - Views: 174
การจัดการและควบคุมหนอนศัตรูพืชที่ทำลายต้นหม่อน: วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาในสวนผลไม้
Update: 2566/11/24 09:49:06 - Views: 290
โรคราแป้ง (Powdery mildew) โรคราแป้งในพริก ราแป้งมะเขือ
Update: 2564/08/09 22:28:26 - Views: 3773
ป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนสในมะม่วง
Update: 2563/11/28 19:59:39 - Views: 2960
การต่อสู้กับเชื้อราที่ทำลายต้นแก้วมังกร: ทำความรู้จักและป้องกันโรคในสวน
Update: 2566/11/10 09:36:45 - Views: 263
ฟักทอง โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/30 14:47:11 - Views: 40
โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
Update: 2563/06/15 15:09:36 - Views: 3044
การใช้ปุ๋ยฉีดพ่นเพิ่มประสิทธิภาพในการเลี้ยงแตงโม: สู่การผลิตที่โตไว รากแข็งแรง และใบสวยงาม
Update: 2566/11/24 14:38:53 - Views: 314
การจัดการเพลี้ยในต้นกาแฟ: วิธีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมและป้องกัน
Update: 2566/11/10 14:36:30 - Views: 319
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าด้วงหนวดยาว ในไร่อ้อย และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/26 13:37:22 - Views: 3090
การจัดการและป้องกันหนอนศัตรูพืชในต้นกาแฟ: วิธีการต่าง ๆ เพื่อรักษาและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช
Update: 2566/11/15 14:03:51 - Views: 266
ลิ้นจี่ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/04/01 14:53:38 - Views: 37
เงาะ การป้องกันกำจัดหนอนเงาะ และป้องกันราแป้ง กำจัดเพลี้ย ในเงาะ
Update: 2564/04/20 10:02:29 - Views: 3268
รักษาโรคใบไหม้ รักษาโรคใบจุด ใบเหลือง แห้งกรอบ โรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส3ลิตร 900บาท
Update: 2563/05/07 20:49:32 - Views: 2929
กำจัดเชื้อรา ส้ม ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/16 10:30:35 - Views: 2984
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: เสริมพลังทับทิมในทุกระยะ เพื่อผลผลิตที่สมบูรณ์และมีคุณภาพ
Update: 2567/02/12 14:59:24 - Views: 79
อาการเจ็บคอ คล้ายๆจะไข้ขึ้น จิบน้ำผึ้งมะนาวอุ่น ๆ บรรเทาอาการได้
Update: 2562/08/11 19:56:42 - Views: 2942
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในมะเขือเทศ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/04 14:01:35 - Views: 2966
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในสตอร์เบอร์รี่ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/18 14:21:18 - Views: 2988
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022