ฟาร์มเกษตร
ครบเครื่อง เรื่องปุ๋ยยา
ช่องทางการสั่งซื้อสินค้าจากฟาร์มเกษตร
1. โทรสั่งซื้อที่ 089-459-9003
2. แอดไลน์ไอดี PrimPB แชทสั่งซื้อ
3. สั่งทางเฟสปริม เฟสบุ๊คปริมคลิกที่นี่
4. สั่งผ่านะระบบตระกร้าสินค้า FKX.asia
5. สั่งผ่านเว็บลาซาด้า LAZADA.co.th
ทุกช่องทาง ชำระเงินขณะรับสินค้าที่บ้านคุณ
หมวด: ไร่อ้อย | อ่านแล้ว 23200 คน | สั่งพิมพ์หน้านี้ | L

การป้องกันกำจัดโรคเหี่ยวเน่าแดง จากไร่อ้อย

โรคเหี่ยวเน่าแดง การป้องกันกำจัด สาเหตุโรค เกิดจากเชื้อรา 2 ชนิด คือ Fusarium moniliforme และ Colletotrichum falcatum ..

data-ad-format="autorelaxed">

โรดเหี่ยวเน่าแดง

โรคเหี่ยวเน่าแดง
สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา 2 ชนิด คือ Fusarium moniliforme และ Colletotrichum falcatum

การระบาด
1. การระบาดเป็นไปอย่างกว้างขวางโดยทางท่อนพันธุ์
2. เชื้อ Fusarium moniliforme อยู่ในดิน สามารถเข้าทำลายได้ทางรากและโคนต้น
3. เชื้อ Colletotrichum falcatum สามารถเข้าทำลายได้ตาม รอยแผลที่เกิดจากหนอนหรือแผลแตกของลำ หรือทางรอยเปิดธรรมชาติ

โรคจะระบาดรุนแรงในพื้นที่ที่มีความชื้นสูง เช่น ในเขตชลประทานหรือพื้นที่นา ทำให้ผลผลิตเสียหาย 30-100 % CCS ลดลง

ลักษณะอาการ
อ้อยจะเหี่ยวตายฉับพลัน ยืนต้นแห้งตาย ไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้
1. ระยะแรก อายุ 4-5 เดือน อ้อยใบเหลือง ขอบใบแห้ง
2. อ้อยจะยืนต้นแห้งตายเป็นกอ ๆ จนถึงระยะเก็บเกี่ยว
3. ผ่าในลำจะเห็นเนื้ออ้อยเน่า ช้ำ เป็นสีแดงจ้ำ ๆ หรือเนื้ออ้อยเน่าเป็นสีน้ำตาลปนม่วง

การป้องกันกำจัด

1. เมื่อเกิดการระบาด ก่อนการเก็บเกี่ยว
(1) เร่งระบายน้ำแปลงที่มีน้ำขัง
(2) งดการเร่งปุ๋ยและน้ำ
(3) รีบตัดอ้อยเข้าหีบ

2. การจัดการแก้ไขหลังเก็บเกี่ยว
(1) รื้อแปลงทิ้ง
(2) ทำลายซากตอเก่า โดยการคราดออกและเผาทิ้ง
(3) ไถดินตาก ประมาณ 3 ครั้ง
(4) ปลูกพืชสลับ เช่น ข้าวหรือกล้วยก่อนปลูกอ้อยฤดูใหม่
(5) เปลี่ยนมาปลูกพันธุ์ที่ต้านทาน เช่น คิว 100, เค 76-4, เค 84-200, เค 88-92, เค 88-93, เค 90-77, อู่ทอง 4 ไม่ควรใช้พันธุ์อ่อนแอ เช่น อู่ทอง 1, อู่ทอง 3, เค 84-69, เค 90-54 และ มก. 50
(6) คัดเลือกพันธุ์ที่สมบูรณ์ จากแหล่งที่ไม่เป็นโรค หรือเตรียมแปลงพันธุ์ด้วยตนเอง
(7) ถ้าไม่แน่ใจว่าพันธุ์ต้านทานหรือไม่ ก่อนปลูกควรแช่ท่อนพันธุ์ในสารเคมี เพื่อป้องกันกำจัดโรค อัตราต่อไปนี้ต่อน้ำ 20 ลิตร : > เบนโนมิล (เบนเลท 25 % WP) อัตรา 25 กรัม, > ไธอะเบนดาโซล (พรอนโต 90 %), > ไธโอฟาเนท-เมททิล (ทอปซินเอ็ม 50 %) 20 มล., > โปรพิโคนาโซล (ทิลท์ 250 อีซี.) 16 มล.

อ้างอิง : http://sfcrc.suphanburi.info

 


อ่านเรื่องนี้แล้ว : 23200 คน £




ความคิดเห็นจากผู้อ่าน:

ส่งความคิดเห็น



เลือกหมวด :

แสดงเนื้อหารวมจากทุกหมวด, สินค้าเกษตร, ไอเดียและเทคโนโลยีเกษตร, รวม VDO เด่นจาก FK, นาข้าว, เศรษฐกิจเกษตร, ภาพถ่ายเกษตร, ไร่อ้อย, มันสำปะหลัง, ยางพารา, ปาล์มน้ำมัน, ไร่ข้าวโพด, ผักและการปลูกผัก, การปลูกพืช, ไม้ผล ไม้ยืนต้น, เกษตรน่ารู้, สมุนไพร, ไม้มงคล, พุทธศึกษา, FK Talk, สุขภาพ, การใช้ SUN กับพืชต่างๆ, แอพฯด้านเกษตร, ไม้ดอก ไม้ประดับ, องค์กรด้านเกษตร, ซื้อขายที่ดิน, ห้องปศุสัตว์, ประมง, เกษตรกรตัวอย่าง, ฟาร์มเกษตรพาเที่ยว, FK Freestyle, Agri live update, ออแกนิกส์, จักรกล, อุปกรณ์การเกษตร, ไร่กาแฟ,


แสดงทั้งหมดใน [ไร่อ้อย]:
อ้อยแคระ แกร็น อ้อยโตช้า อ้อยไม่ย่างปล้อง อ้อยปล้องสั้น อ้อยใบเหลือง อ้อยใบไหม้
พืชจะไม่สมบูรณ์ได้อย่างไร เราก็ใส่ทั้งปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมีแล้ว แต่ทำไมพืชยังไม่โตเท่าที่ควร ทั้งๆที่เราใส่ปุ๋ย
อ่านแล้ว: 7266
อ้อยยอดเหลือง แต่กอยังเขียว เพราะ หนอนกออ้อย เข้าทำลายต้นอ้อย ฆ่าหนอน กำจัดหนอน ไอกี้-บีที
อ้อยกำลังงาม อยู่ๆก็ยอดเหลือง ทั้งๆที่กออ้อยยังเขียวอยู่ นั่นท่านอาจเจอกับปัญหาหนอนกอ ป้องกันกำจัด ก่อนจะลุกลาม
อ่านแล้ว: 7123
อ้อยใบเหลือง อ้อยใบซีด เหลืองซีดเป็นหย่อมๆ ลักษณะนี้เป็นอาการของ อ้อยขาดธาตุอาหาร
หากพืชมีความอ่อนแอ ความรุนแรงของโรคก็จะมาก การเข้าทำลายของแมลงศัตรูพืช ก็เข้าทำลายได้มากเช่นกัน บวกกับสภาพแวดล้อม..
อ่านแล้ว: 9744
อ้อยเป็นหนอน หรือเห็น อ้อยยอดแห้งตาย นั่นเพราะหนอนกอสีขาวเข้าทำลาย
หน่ออ้อยที่ยังเล็กอยู่ หากโดน หนอนกอสีขาว เข้าทำลาย หน่ออ้อยมักจะตาย อ้อยที่เป็นลำจะชะงักโต ผลผลิตลด คุณภาพลด
อ่านแล้ว: 8114
ผลผลิตอ้อยลด ค่าความหวานลด อ้อยชะงักโตเพราะ แมลงหวี่ขาวอ้อย ต้องแก้
แมลงหวีขาว ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย จะดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณใต้ใบอ้อย ในระยะตัวอ่อนนั้น จะสร้างความเสียหายให้กับอ้อย
อ่านแล้ว: 8599
อ้อยมีราดำ มีแป้งสีขาวใต้ใบ ใบเหลืองซีด เพราะเพลี้ยสำลี ปล่อยไป อ้อยแห้งตาย
เพลี้ยสำลี หากมีการระบาดในไร้อ้อยแล้ว จะทำให้อ้อยในไร่ชะงักการเติบโต หรืออาจจะทำให้อ้อยแห้งกรอบทั้งใบ
อ่านแล้ว: 8768
อ้อยเหลือง แห้งตายทั้งกอ เป็นเพราะ แมลงนูนหลวง กัดกินรากอ้อย กำจัดอย่างไร
มักระบาดในสภาพดินทรายที่มี pH 6-6.5 และสภาพดินที่มีอินทรียวัตถุ 0.56-0.84% การเข้าทำลายอ้อยมักปรากฏเป็นหย่อมไม่แพร่..
อ่านแล้ว: 7567
หมวด ไร่อ้อย ทั้งหมด >>