ฟาร์มเกษตร
ครบเครื่อง เรื่องปุ๋ยยา
ช่องทางการสั่งซื้อสินค้าจากฟาร์มเกษตร
1. โทรสั่งซื้อที่ 089-459-9003
2. แอดไลน์ไอดี PrimPB แชทสั่งซื้อ
3. สั่งทางเฟสปริม เฟสบุ๊คปริมคลิกที่นี่
4. สั่งผ่านะระบบตระกร้าสินค้า FKX.asia
5. สั่งผ่านเว็บลาซาด้า LAZADA.co.th
ทุกช่องทาง ชำระเงินขณะรับสินค้าที่บ้านคุณ
หมวด: นาข้าว | อ่านแล้ว 10396 คน | สั่งพิมพ์หน้านี้ | L

การกำจัดเชื้อราในนาข้าว แก้โรคใบจุดสีน้ำตาล วิธีป้องกัน และกำจัดโรคเหล่านี้

โรคใบจุดสีน้ำตาล พบมาก ทั้ง นาน้ำฝน และ นาชลประทาน ใน ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้

data-ad-format="autorelaxed">

โรคใบจุดสีน้ำตาล (Brown Spot Disease)

พบมาก ทั้ง นาน้ำฝน และ นาชลประทาน ใน ภาคกลาง ภาคเหนือ
ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้

สาเหตุ เชื้อรา Bipolaris oryzae (Helminthosporium oryzae Breda de Haan.)

 

เชื้อราสาเหตุโรคใบจุดสีน้ำตาล

เชื้อราสาเหตุ

 

อาการ แผลที่ใบข้าว พบมากในระยะแตกกอมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาล รูปกลมหรือรูปไข่ ขอบนอกสุดของแผลมีสีเหลือง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 มิลลิเมตร แผลที่มีการพัฒนาเต็มที่ขนาดประมาณ 1-2 x 4-10 มิลลิเมตร บางครั้งพบแผลไม่เป็นวงกลมหรือรูปไข่ แต่จะเป็นรอยเปื้อนคล้ายสนิมกระจัดกระจายทั่วไปบนใบข้าว แผลยังสามารถเกิดบนเมล็ดข้าวเปลือก(โรคเมล็ดด่าง) บางแผลมีขนาดเล็ก บางแผลอาจใหญ่คลุมเมล็ดข้าวเปลือก ทำให้เมล็ดข้าวเปลือกสกปรก เสื่อมคุณภาพ เมื่อนำไปสีข้าวสารจะหักง่าย

 

โรคใบจุดสีน้ำตาล

อาการใบจุดสีน้ำตาลที่ใบ

 

การแพร่ระบาด เกิดจากสปอร์ของเชื้อราปลิวไปตามลม และติดไปกับเมล็ด

การป้องกันกำจัด

ใช้พันธุ์ต้านทานที่เหมาะสมกับสภาพท้องที่ และโดยเฉพาะพันธุ์ที่มีคุณสมบัติต้านทานโรคใบสีส้ม เช่น ภาคกลางใช้พันธุ์ปทุมธานี 1 ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พันธุ์เหนียวสันป่าตอง และหางยี 71

ปรับปรุงดินโดยการไถกลบฟาง หรือเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ดินโดยการปลูกพืชปุ๋ยสด หรือปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อช่วยลดความรุนแรงของโรค

ใส่ปุ๋ยโปแตสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) อัตรา 5-10 กิโลกรัม / ไร่ ช่วยลดความรุนแรงของโรค

กำจัดวัชพืชในนา ดูแลแปลงให้สะอาด และใส่ปุ๋ยในอัตราที่เหมาะสม

ถ้าพบอาการของโรคใบจุดสีน้ำตาลรุนแรงทั่วไป 10 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ใบในระยะข้าวแตกกอ หรือในระยะที่ต้นข้าวตั้งท้องใกล้ออกรวง เมื่อพบอาการใบจุดสีน้ำตาลที่ใบธงในสภาพฝนตกต่อเนื่อง อาจทำให้เกิดโรคเมล็ดด่าง ควรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา

อ้างอิง http://www.brrd.in.th..

สินค้าแนะนำ แก้โรคใบจุดสีน้ำตาล

ไอ.เอส. ไรท์

ไอเอส กำจัดเชื้อราในนาข้าว

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา ปลอดสารพิษ

 

ตราดับเบิ้ลชีลด์
ขนาด 1 ลิตร
ใบไหม้ ใบจุด ใบขีด ราสนิม

- สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคพืช
- ควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (ION Control) ทำให้สภาพแวดล้อมบนใบพืชไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา
- สามารถฉีดพ่นได้ในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวโดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค
- เคลือบผิวใบได้ดี โดยไม่ต้องผสมสารจับใบ

ไอเอสไรท์ สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราในนาข้าว สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี "การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)" โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบข้าว ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบข้าวได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค

คุณประโยชน์

- ป้องกันการเข้าทำลายของเชื้อรา สาเหตุโรคในนาข้าว
- ลดการแพร่กระจายของเชื้อราในนาข้าว
- ป้องกันการลุกลามของแผลที่เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อรา
- มีความต้านทานโรคเพิ่มขึ้น เมื่อใช้เป็นประจำ

ใช้ควบคุมและยับยั้งโรค

- โรคใบไหม้ (Blast)
- โรคใบจุดสีน้ำตาล (Brown Spot)
- โรคราสนิม (Rust)
- โรคใบขีดสีน้ำตาล (Narrow Brown Spot)

วิธีการใช้

- ใช้แช่เมล็ดก่อนปลูก 15-20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทิ้งไว้ 1 คืน
- ใช้ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา 30-50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุก 5-7 วัน
(เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุด ควรฉีดพ่นเป็นประจำ และใช้ควบคู่กับ ปุ๋ยน้ำตรานกอินทรีคู่)

คำแนะนำ

เขย่าขวดก่อนใช้ ควรฉีดพ่นในช่วงเช้าหรือเย็น หากใช้ร่วมกับสารเคมีอื่น ควรผสมสารเคมีกับน้ำก่อน แล้วจึงเติมสารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา ไอเอส ไรท์ ตราดับเบิ้ลชีลด์ ตามอัตราส่วนที่แนะนำ

วิธีเก็บรักษา

ต้องเก็บสารกำจัดเชื้อราไว้ในภาชนะที่ปิดแน่น และมีฉลากปิด ห่างจากเด็ก อาหาร เครื่องดื่ม สัตว์เลี้ยง และเปลวไฟ

คำเตือน

เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ และสิ่งมีชีวิตอื่น ผู้ใช้ต้องปฏิบัติดังนี้
- ขณะผสมควรสวมถุงมือและปิดจมูก เพื่อป้องกันไม่ใช้สารเข้มข้นถูกผิวหนัง หรือกระเด็นเข้าตา
- ขณะพ่นต้องอยู่เหนือลมเสมอ
- ระวังอย่าให้เข้าปาก ตา จมูก หรือถูกผิวหนังและเสื้อผ้า
- ห้ามดื่มน้ำ กินอาหาร หรือสูบบุหรี่ในเวลาปฏิบัติงาน
- ล้างมือและหน้าให้สะอาดด้วยน้ำและสบู่ ก่อนกินอาหาร ดื่มน้ำ และสูบบุหรี่
- หลังจากพ่นสารแล้ว ต้องอาบน้ำเปลี่ยนเสื้อผ้า และซักชุดที่สวมทำงานให้สะอาด
- สารนี้เป็นพิษต่อปลา ให้ใช้ด้วยความระมัดระวัง
- ภาชนะบรรจุเมื่อใช้หมดแล้ว ให้ล้างด้วยน้ำ 3 ครั้งก่อนทำลาย แล้วฝังดินเสีย ห้ามเผาไฟหรือนำกลับมาใช้อีก

อาการเกิดพิษ

ผู้ได้รับพิษจะมีอาการอ่อนเพลีย ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง หายใจติดขัด หากสัมผัสผิวหนังจะเกิดอาการผื่นคัน

การแก้พิษเบื้องต้น

- หากเกิดอาการเนื่องจากพิษให้รีบนำผู้ป่วยออกจากบริเวณที่มีการใช้สาร ให้ผักผ่อนในที่อากาศถ่ายเทสะดวก
- ถ้าสัมผัสผิวหนังให้ล้างออกด้วนน้ำสะอาดและสบู่ หลายๆครัง หากเข้าตาควรล้างออกด้วยน้ำสะอาดหลายๆครั้ง
- หากเปื้อนเสี้ยผ้าให้รีบอาบน้ำ และเปลี่ยนเสื้อผ้าใหม่ทันที
- หากกลืนกิน กระตุ้นให้อาเจียน และถ่ายท้องด้วยโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต แล้วรีบนำผู้ป่วยส่งแพทย์ทันทีพร้อมภาชนะบรรจุและฉลากของสารนั้น

คำแนะนำสำหรับแพทย์

1. ช่วยผู้ป่วยให้หายใจสะดวก โดยใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือผายปอดให้ผู้ป่วย
2. ในรายที่ต้องล้างท้อง ควรใช้โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต แล้วตามด้วยการให้ถ่านดูดซับ (activated charcoal)
3. รักษาตามอาการ

สนใจผลิตภัณฑ์ติดต่อ

ฟาร์มเกษตร หรือ www.FarmKaset.ORG
คุณ ปิยะมาศ โทร 089-459-9003
หรือ สั่งซื้อผ่านระบบออนไลน์คลิกที่นี่


อ่านเรื่องนี้แล้ว : 10396 คน £




ความคิดเห็นจากผู้อ่าน:

ส่งความคิดเห็น

 

 
   
   

เลือกหมวด :

แสดงเนื้อหารวมจากทุกหมวด, สินค้าเกษตร, ไอเดียและเทคโนโลยีเกษตร, รวม VDO เด่นจาก FK, นาข้าว, เศรษฐกิจเกษตร, ภาพถ่ายเกษตร, ไร่อ้อย, มันสำปะหลัง, ยางพารา, ปาล์มน้ำมัน, ไร่ข้าวโพด, ผักและการปลูกผัก, การปลูกพืช, ไม้ผล ไม้ยืนต้น, เกษตรน่ารู้, สมุนไพร, ไม้มงคล, พุทธศึกษา, FK Talk, สุขภาพ, การใช้ SUN กับพืชต่างๆ, แอพฯด้านเกษตร, ไม้ดอก ไม้ประดับ, องค์กรด้านเกษตร, ซื้อขายที่ดิน, ห้องปศุสัตว์, ประมง, เกษตรกรตัวอย่าง, ฟาร์มเกษตรพาเที่ยว, FK Freestyle, Agri live update, ออแกนิกส์, จักรกล, อุปกรณ์การเกษตร, ไร่กาแฟ,


แสดงทั้งหมดใน [นาข้าว]:
ข้าวใบเหลือง ขอบใบข้าวม้วน ยอดใบข้าวมีจุดประสีขาว เพราะขาดธาตุต่างกัน ปล่อยไว้ผลผลิตลด
ธาตุรองธาตุเสริมต่างๆ ที่จำเป็นต่อพืช ถูกพืชดึงไปใช้ทุกๆครั้งที่ปลูก จึงค่อยๆหมดไป เราเติมได้ พืชจะสมบูรณ์ ผลผลิตสูงขึ้น
อ่านแล้ว: 7481
ตั๊กแตน กัดกินใบข้าว ทำผลผลิตลด ป้องกันและกำจัดด้วย มาคา กำจัดแมลง
ใบข้าวแหว่ง หากจะบาดมาก โดนตั๊กแตน โลกัสต้าโจมตี จะกินใบข้าวจนหมดทั้งใบ สร้างความเสียหายในนาข้าว
อ่านแล้ว: 7824
หนอนกอ ที่ทำลายต้นข้าว ป้องกันและ กำจัดหนอนกอ
หนอนกอ จะเข้าทำลายต้นข้าวในระยะข้าวแตกกอ หนอนกอจะเข้ากัดกิน ทำลายในส่วนที่เป็นท่ออาหาร ท่อน้ำของลำต้นข้าว
อ่านแล้ว: 8807
ลุ้นส่งออกข้าวสถิติสูงสุด คาดปีนี้ทะลุ11ล้านตัน
ส่งออกข้าวไทย 11 เดือน พุ่ง 21.01% ปริมาณ 10.42 ล้านตัน ขณะที่ราคาหอมมะลิปรับสูงขึ้นทำสถิติสูงสุดรอบ 4 ปี
อ่านแล้ว: 7638
สิ้น จำนำข้าว 3 ปี 300 โรงสีม้วนเสื่อ
โรงสีกระทบหนัก ปิดตัวแล้วกว่า 300 แห่ง เหตุไม่ปรับตัวแตกไลน์ธุรกิจ ขณะแข่งเดือดแย่งข้าวเปลือก หลังกำลังสีแปรรวมมากกว่า..
อ่านแล้ว: 7883
พาณิชย์ยัน ข้าวเปลือกหอมมะลิราคาไม่ตก
กระแสข่าวราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ และข้าวเปลือกหอมจังหวัด มีราคาตกต่ำ ไม่เป็นความจริง
อ่านแล้ว: 7646
พาณิชย์เลือกเอกชน2ราย เอ็มโอยูตั้งตลาดกลางข้าว
พาณิชย์ดันตลาดไทตลาดต่อยอด ร่วมจัดตั้งตลาดกลางข้าวสาร ลงนามเอ็มโอยูต้นเดือน ธ.ค. เปิดให้บริการได้เดือน พ.ค. 2561
อ่านแล้ว: 7566
หมวด นาข้าว ทั้งหมด >>